คู่มือการศึกษา ระดับปริญญาตรี 2558

คู่ มื อการศึ กษา ระดั บปริ ญญาตรี มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ ปี การศึ กษา 2558 7 แนะนำ �มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ ประวั ติ มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ เป็ นสถาบั นอุ ดมศึ กษาแห่ งแรกๆ ในพื้ นที่ ภาคใต้ ถื อก� ำเนิ ดขึ้ นภายหลั งจากการสถาปนาวิ ทยาลั ยวิ ชาการศึ กษา (College of Education) ในสั งกั ดกระทรวงศึ กษาธิ การ ขึ้ นแทนโรงเรี ยนฝึ กหั ดครู ชั้ นสู ง ณ ถนนประสานมิ ตร อ� ำเภอพระโขนง จั งหวั ดพระนคร ในปี พุ ทธศั กราช 2497 เพื่ อพั ฒนาปรั ชญาและแนวคิ ดทางด้ านการศึ กษาสมั ยใหม่ ให้ สอดคล้ องผสานสั มพั นธ์ กั บสั งคมประชาธิ ปไตย รวมทั้ งการพั ฒนาการศึ กษาศาสตร์ ให้ เป็ น วิ ชาชี พที ่ มี ระบบแบบแผนและมี ความลุ ่ มลึ กในสั งคมไทย พร้ อมกั บการประสาทปริ ญญาทางด้ านศึ กษาศาสตร์ วิ ทยาลั ยวิ ชาการศึ กษาได้ พั ฒนาและ เจริ ญก้ าวหน้ ามาโดยล� ำดั บ พร้ อมกั บการขยายการจั ดการศึ กษาไปยั งภู มิ ภาคต่ างๆ ของประเทศ และมี การบริ หารงานแบบหลายวิ ทยาเขต ประกอบด้ วย วิ ทยาเขตปทุ มวั น (ปี พุ ทธศั กราช 2498) วิ ทยาเขตบางแสน จั งหวั ดชลบุ รี (ปี พุ ทธศั กราช 2498) วิ ทยาเขตพิ ษณุ โลก (ปี พุ ทธศั กราช 2510) วิ ทยาเขตมหาสารคาม (ปี พุ ทธศั กราช 2511) วิ ทยาเขตสงขลา (ปี พุ ทธศั กราช 2511) วิ ทยาเขตพระนคร (ปี พุ ทธศั กราช 2512) และวิ ทยาเขตพลศึ กษา (ปี พุ ทธศั กราช 2513) โดยมี วิ ทยาเขตประสานมิ ตรเป็ นศู นย์ กลางการบริ หาร วิ ทยาลั ยวิ ชาการศึ กษา สงขลา ได้ รั บการสถาปนาขึ้ นอย่ างเป็ นทางการ เมื่ อวั นที่ 1 ตุ ลาคม พ.ศ. 2511 ณ ตํ าบลเขารู ปช้ าง อํ าเภอเมื อง จั งหวั ดสงขลา (ที่ ตั้ งปั จจุ บั นของมหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ วิ ทยาเขตสงขลา) ตามมติ สภาวิ ทยาลั ยวิ ชาการศึ กษา ในการขยายการศึ กษาระดั บอุ ดมศึ กษาไปยั งพื้ นที่ ภาคใต้ วั นที่ 1 ตุ ลาคม พ.ศ. 2511 จึ งถื อเป็ นวั นสถาปนามหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ วิ ทยาลั ยวิ ชาการศึ กษา สงขลา ได้ เปิ ดการเรี ยนการสอนเป็ นครั้ งแรกเมื่ อปี การศึ กษา 2512 ในหลั กสู ตรปริ ญญาการศึ กษาบั ณฑิ ต เฉพาะหลั กสู ตร 2 ปี และในปี การศึ กษา 2517 จึ งเริ่ มรั บนิ สิ ตเข้ าเรี ยนในหลั กสู ตรปริ ญญาการศึ กษาบั ณฑิ ต หลั กสู ตร 4 ปี และได้ ดํ าเนิ นการจั ดการศึ กษาและผลิ ตบั ณฑิ ตโดย มี ความเจริ ญก้ าวหน้ ามาอย่ างต่ อเนื ่ อง เมื่ อวิ ทยาลั ยวิ ชาการศึ กษาได้ รั บการยกฐานะเป็ นมหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒ สั งกั ดทบวงมหาวิ ทยาลั ย ในปี พุ ทธศั กราช 2517 วิ ทยาลั ยวิ ชาการศึ กษา สงขลา จึ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของมหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒ ภายใต้ ชื ่ อ “มหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒ วิ ทยาเขต สงขลา” ในระหว่ างปี พุ ทธศั กราช 2532 – 2533 มหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒ วิ ทยาเขตสงขลา ได้ เริ่ มวางแผนขยายงานไปยั งพื้ นที่ จั งหวั ดพั ทลุ ง เนื่ องด้ วย พื้ นที่ เดิ ม ณ ต� ำบลเขารู ปช้ าง อ� ำเภอเมื อง สงขลา มี พื้ นที่ ค่ อนข้ างจ� ำกั ดไม่ เพี ยงพอต่ อการรองรั บการจั ดตั้ งคณะใหม่ ๆ และการขยายงานในอนาคต โดย คณะรั ฐมนตรี เมื่ อวั นที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 ได้ มี มติ อนุ มั ติ ในหลั กการให้ มหาวิ ทยาลั ยขยายงานไปยั งพื้ นที่ จั งหวั ดพั ทลุ ง และให้ บรรจุ โครงการดั งกล่ าว ไว้ ในแผนพั ฒนาการศึ กษาระดั บอุ ดมศึ กษา ฉบั บที่ 7 (พ.ศ. 2535 - 2539) ต่ อมาเมื่ อวั นที่ 20 ตุ ลาคม พ.ศ. 2535 สภามหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒ จึ งได้ มี มติ ก� ำหนดชื่ อมหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒสงขลาใหม่ เป็ น “มหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒ วิ ทยาเขตภาคใต้ ” ทั้ งนี้ โดยคํ านึ งถึ งภารกิ จของมหาวิ ทยาลั ย อั นเกี่ ยวเนื่ องกั บภาคใต้ โดยรวม ไม่ จ� ำเพาะแต่ จั งหวั ดใดจั งหวั ดหนึ่ ง และเมื่ อวั นที่ 1 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2539 มหาวิ ทยาลั ยศรี นคริ นทรวิ โรฒ วิ ทยาเขตภาคใต้ ได้ รั บการยกฐานะเป็ นมหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ ซึ่ งเป็ นนิ ติ บุ คคล มี ฐานะเป็ นกรม ในทบวงมหาวิ ทยาลั ย ตามพระราชบั ญญั ติ มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ พ.ศ. 2539 มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณได้ พั ฒนาเจริ ญก้ าวหน้ ามาโดยล� ำดั บ ในปี การศึ กษา 2547 เริ่ มเปิ ดการเรี ยนการสอนอย่ างเป็ นทางการในพื้ นที่ ของมหาวิ ทยาลั ยที่ ต� ำบลบ้ านพร้ าว อ� ำเภอป่ าพะยอม จั งหวั ดพั ทลุ ง และสภา มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ เมื่ อวั นที่ 5 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2548 ได้ มี มติ ให้ มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณมี การบริ หารงานแบบ 2 วิ ทยาเขต ประกอบด้ วย วิ ทยาเขตสงขลา (มี พื้ นที่ ปฏิ บั ติ งาน 2 แห่ ง ตั้ งอยู ่ ที่ ต� ำบลเขารู ปช้ าง อ� ำเภอเมื องสงขลา จั งหวั ดสงขลา มี เนื้ อที่ ประมาณ 142 ไร่ และที่ บ้ านอ่ าวทราย ต� ำบลเกาะยอ อ� ำเภอเมื อง จั งหวั ดสงขลา เนื้ อที่ ประมาณ 24 ไร่ ซึ่ งเป็ นที่ ตั้ งของสถาบั นทั กษิ ณคดี ศึ กษา) และวิ ทยาเขตพั ทลุ ง (มี พื้ นที่ ปฏิ บั ติ งาน 2 แห่ ง ตั้ งอยู ่ ที่ ต� ำบลบ้ านพร้ าว อ� ำเภอ ป่ าพะยอม จั งหวั ดพั ทลุ ง เนื้ อที่ ประมาณ 3,500 ไร่ และที่ ต� ำบลพนางตุ ง อ� ำเภอควนขนุ น จั งหวั ดพั ทลุ ง เนื้ อที่ ประมาณ 1,500 ไร่ ) และนั บตั้ งแต่ วั นที่ 6 กุ มภาพั นธ์ พ.ศ. 2551 จวบจนปั จจุ บั น มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณได้ พั ฒนาไปสู ่ การเป็ นมหาวิ ทยาลั ยของรั ฐที่ ไม่ เป็ นส่ วนราชการแต่ อยู ่ ใน กํ ากั บของรั ฐด้ วยการบริ หารจั ดการที่ เป็ นอิ สระและมี ความคล่ องตั วสามารถจั ดการศึ กษาในระดั บอุ ดมศึ กษาได้ อย่ างมี คุ ณภาพและประสิ ทธิ ภาพ ตาม พระราชบั ญญั ติ มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ พ.ศ. 2551 และภายใต้ ปรั ชญาของมหาวิ ทยาลั ย “ปั ญญา จริ ยธรรม น� ำการพั ฒนา” ปรั ชญา ปั ญญา จริ ยธรรม น� ำการพั ฒนา ปณิ ธาน มหาวิ ทยาลั ยรั บใช้ สั งคม วิ สั ยทั ศน์ มหาวิ ทยาลั ยสมบู รณ์ แบบ ที่ ผลิ ตบั ณฑิ ต พั ฒนากํ าลั งคน วิ จั ยและบริ การวิ ชาการ เพื่ อรั บใช้ สั งคมท้ องถิ่ นใต้ ประเทศชาติ และอาเซี ยน ให้ เป็ นสั งคมแห่ ง ปั ญญาและสั นติ สุ ขที่ ยั่ งยื น

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3