คู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2559

๓๐.๓ การขอลาพั กการเรี ยน ให อนุ มั ติ ได ครั้ งละไม เกิ น ๑ ภาคเรี ยน กรณี ที่ นิ สิ ตยั งมี ความจํ าเป นที่ จะต องลาพั กการเรี ยน ต ออี กให ยื่ นค� ำร้ องขอลาพั กการเรี ยนใหม ๓๐.๔ ในกรณี ที่ นิ สิ ตได รั บอนุ มั ติ ให ลาพั กการเรี ยน ให นั บระยะเวลาที่ ลาพั กการเรี ยนรวมอยู ในระยะเวลาการศึ กษาด วย ๓๐.๕ ในระหว างที่ ได รั บอนุ มั ติ ให ลาพั กการเรี ยน นิ สิ ตต องชํ าระเงิ นค ารั กษาสภาพนิ สิ ตทุ กภาคเรี ยนเพื่ อรั กษาสภาพนิ สิ ต มิ ฉะนั ้ น จะถู กคั ดชื่ อออกจากมหาวิ ทยาลั ยตามวั นที่ มหาวิ ทยาลั ยก� ำหนด ๓๐.๖ ในกรณี ที่ นิ สิ ตเจ็ บป่ วย ตามข้ อ ๓๐.๑.๓ และได้ ช� ำระเงิ นค่ าบ� ำรุ งการศึ กษาและค่ าเล่ าเรี ยนในภาคเรี ยนที่ ลงทะเบี ยนแล้ ว มหาวิ ทยาลั ยอาจยกเลิ กการลงทะเบี ยนนิ สิ ตโดยไม่ ติ ดสั ญลั กษณ์ W ได้ ซึ่ งต้ องมี ใบรั บรองแพทย์ จากโรงพยาบาลของรั ฐ และได้ รั บอนุ มั ติ จากหั วหน้ าส่ วน งานวิ ชาการที่ นิ สิ ตสั งกั ด ทั้ งนี้ จะไม่ ได้ รั บคื นเงิ นค่ าบ� ำรุ งการศึ กษาและค่ าเล่ าเรี ยนคื น ข อ ๓๑ การลาออก นิ สิ ตที ่ ประสงค จะลาออกจากการเป นนิ สิ ตของมหาวิ ทยาลั ยให ยื่ นคํ าร องผ านอาจารย ที่ ปรึ กษาทางวิ ชาการและหั วหน าภาควิ ชาหรื อ ประธานสาขาวิ ชา เพื่ อเสนอหั วหน าส วนงานวิ ชาการที่ หลั กสู ตรสั งกั ดพิ จารณาอนุ มั ติ และแจ งให นายทะเบี ยนทราบ หมวดที่ ๖ การวั ดและประเมิ นผลการศึ กษา ข อ ๓๒ การมี สิ ทธิ์ เข าสอบ นิ สิ ตจะต องมี เวลาเรี ยนในรายวิ ชาหนึ่ งๆ ไม น อยกว าร อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้ งหมดของรายวิ ชานั้ น จึ งจะมี สิ ทธิ์ ได รั บผลการเรี ยน รายวิ ชานั้ นนิ สิ ตที่ มี เวลาเรี ยนรายวิ ชาใดน อยกว าร อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้ งหมดและไม ได ขอถอนรายวิ ชา ให้ อาจารย์ ผู ้ สอนประเมิ นผลการเรี ยนเป็ น ระดั บขั้ น F ในรายวิ ชานั้ นเมื่ อสิ้ นสุ ดภาคเรี ยน ข้ อ ๓๓ การสอบในระดั บบั ณฑิ ตศึ กษา มี ดั งนี้ ๓๓.๑ การสอบประมวลความรู ้ เป็ นการสอบความรู ้ ความสามารถที่ จะน� ำหลั กวิ ชาและประสบการณ์ การเรี ยนหรื อการวิ จั ยไปประยุ กต์ ใช้ ในการปฏิ บั ติ งาน ๓๓.๒ การสอบวิ ทยานิ พนธ์ เป็ นการสอบเพื่ อวั ดความรู ้ ความสามารถของนิ สิ ต ในการท� ำวิ จั ยเพื่ อวิ ทยานิ พนธ์ ความรอบรู ้ ในเนื้ อหา ที่ เกี่ ยวข้ องกั บเรื่ องที่ ท� ำวิ จั ย ความสามารถในการน� ำเสนอผลงาน ทั้ งด้ านการพู ด การเขี ยนและการตอบค� ำถาม ๓๓.๓ การสอบค้ นคว้ าอิ สระ เป็ นการสอบเพื่ อประเมิ นผลงานการศึ กษาอิ สระของนิ สิ ตในหลั กสู ตรปริ ญญาโท แผน ข ๓๓.๔ การสอบวั ดคุ ณสมบั ติ เป็ นการสอบเพื่ อประเมิ นความรู ้ พื้ นฐาน ความพร้ อม ความสามารถและศั กยภาพของนิ สิ ตหลั กสู ตร ปริ ญญาเอก เพื่ อวั ดว่ านิ สิ ตมี ความพร้ อมในการท� ำวิ ทยานิ พนธ์ ในระดั บปริ ญญาเอก ๓๓.๕ การสอบภาษาต่ างประเทศ เป็ นการสอบเที ยบความรู ้ ความสามารถภาษาต่ างประเทศของนิ สิ ตหลั กสู ตร ปริ ญญาโทและ ปริ ญญาเอก การสอบตามข้ อ ๓๓.๑ - ๓๓.๕ ให้ เป็ นไปตามที่ บั ณฑิ ตวิ ทยาลั ยก� ำหนด ข อ ๓๔ ระบบการประเมิ นผลการเรี ยนรายวิ ชา วิ ทยานิ พนธ์ หรื อการค้ นคว้ าอิ สระ และการสอบพิ เศษ ๓๔.๑ กรณี หลั กสู ตรไม กํ าหนดเป นอย างอื่ นให ประเมิ นผลการเรี ยนรายวิ ชาเป นระดั บขั้ นโดยมี ความหมายและค าระดั บขั้ น ดั งนี้ ระดั บขั้ น ความหมาย ค าระดั บขั้ น A ดี เยี่ ยม (Excellent) ๔.๐ B+ ดี มาก (Very Good) ๓.๕ B ดี (Good) ๓.๐ C+ ดี พอใช (Fairly Good) ๒.๕ C พอใช (Fair) ๒.๐ D+ อ อน (Poor) ๑.๕ D อ อนมาก (Very Poor) ๑.๐ F ตก (Fail) ๐.๐ ๓๔.๒ กรณี ที่ รายวิ ชาในหลั กสู ตรไม มี การประเมิ นผลเป นระดั บขั้ น ให รายงานผลเป นสั ญลั กษณ และมี ความหมาย ดั งนี้ สั ญลั กษณ ความหมาย AUD การเรี ยนโดยไม นั บหน วยกิ ต (Audit) W การถอนรายวิ ชาโดยได รั บอนุ มั ติ (Withdraw) VG ผลการเรี ยน/การปฏิ บั ติ /ฝ กงาน/อยู ในระดั บดี มาก (Very Good) G ผลการเรี ยน/การปฏิ บั ติ /ฝ กงาน/อยู ในระดั บดี (Good) S ผลการเรี ยน/การปฏิ บั ติ /ฝ กงาน/อยู ในระดั บเป นที่ พอใจ(Satisfactory) U ผลการเรี ยน/การปฏิ บั ติ /ฝ กงาน/อยู ในระดั บไม เป นที่ พอใจ(Unsatisfactory) I การประเมิ นผลยั งไม สมบู รณ (Incomplete) รายวิ ชาที่ ต องให สั ญลั กษณ VG, G, S และ U ให เป นไปตามที่ กํ าหนดไว ในหลั กสู ตรหรื อตามที่ สภาวิ ชาการกํ าหนด คู่ มื อการศึ กษา ระดั บบั ณฑิ ตศึ กษา มหาวิ ทยาลั ยทั กษิ ณ ปี การศึ กษา 2559 199

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3