งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร

งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 6 สรุปผล (Conclusion) การพ่นสารกาจัดวัชพืช topramezone 33.6% SC และ atrazine 50% SC อัตรา 8.4 และ 400 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ มีความเป็นพิษเล็กน้อย ที่ระยะ 7 วันหลังพ่นสาร จากนั้นที่ระยะ 15 วันหลังพ่นสาร ต้นกล้วยหอมสามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ ในขณะที่สารกาจัดวัชพืช mesotrione+atrazine 2.5+25% SC อัตรา 165 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อไร่ มีความเป็นพิษปานกลาง ที่ระยะ 7 วันหลังพ่นสาร จากนั้นที่ระยะ 15 วัน หลังพ่นสาร ความเป็นพิษเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับรุนแรง และเมื่อเข้าสู่ระยะ 30 วันหลังพ่นสาร ต้นกล้วยหอม สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ เอกสารอ้างอิง (Reference) กลุ่มวิจัยวัชพืช. (2560). การจาแนกและการจัดการวัชพืชในพืชเศรษฐกิจ. นนทบุรี. สานักพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. ทศพล พรพรหม. (2560). สารป้องกันกาจัดวัชพืช: หลักการและกลไกการทาลายพืช (3) . กรุงเทพฯ. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม. (2563, พฤษภาคม). บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย . (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2563. https://www.dla.go.th/work/paraquat.pdf . พรชัย เหลืองอาภาพงศ์. (2540). วัชพืชศาสตร์ (Weed Science) . กรุงเทพฯ. สานักพิมพ์ลินคอร์น. เอกรัตน์ ธนูทอง, จรัญญา ปิ่นสุภา และปรัชญา เอกฐิน. (2566). ศึกษาประสิทธิภาพสารกาจัดวัชพืชต่อการ ควบคุมวัชพืชในแปลงกล้วยหอมทอง . ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ครั้งที่ 20 ประจาปี 2566. (น. 2,130-2,139). ระหว่างวันที่ 7-8 ธันวาคม 2566 ณ อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม. เอกรัตน์ ธนูทอง, จรัญญา ปิ่นสุภา, ภัทร์พิชชา รุจิระพงศ์ชัย, ปรัชญา เอกฐิน, เทอดพงษ์ มหาวงศ์, และอุษณีย์ จินดากุล. (2567). ศึกษาความเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืชประเภทพ่นหลังวัชพืชงอก (ไกลโฟเซต กลูโฟซิเนต และไดควอต) ในกล้วยหอมทอง . ในการประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 62 ประจาปี 2567. (น.313-321) . ระหว่างวันที่ 5-7 มีนาคม 2567 ณ เ ขตจตุจัก ร กรุงเทพมหานคร. Carol, A., Smith, M. & Retzinger, E.J. (2003). Revised Classification of Herbicides by Site of Action for Weed Resistance Management Strategies . Weed Technology . 17(3), 605- 619. Romanowski, R.R., Crozier, J.A., Tanaka, J.S. & Barba, R.C. (1967) . Herbicide selectivity trials with bananas ( Musa spp. ) in Hawaii. College of Tropical Agriculture and Human Resources, Hawaii Agricultural Experiment Station, The University of Hawaii. Shaikh, A.R. & Lokhande, O.G. (2005). Effect of Sequential Herbicide Application on Banana and Weeds. Indian Journal of Weed Science. 37(3), 289-290.

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3