งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร

งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 166 สรุปผล (Conclusion) การปลูกไม้พุ่มกินใบ 5 ชนิด แซมระหว่างแถวปลูกของสะตอ ในปีที่สองหลังปลูกมีการเจริญเติบโต ต่างกัน พบว่า มันปูมีการเจริญเติบโตดี ให้ผลผลิตสม่าเสมอและการให้ผลผลิตสูงสุด รวมทั้งมีอัตรผลตอบแทน การลงทุนสูงสุด รองลงมาเป็นผักหวานช้าง ส่วนมะกอกป่า หมุยหอม และผักเหลียง ให้ผลผลิตต่ากว่าและมีค่า อัตราผลตอบแทนการลงทุนต่า ซึ่งไม่พบปัญหากระทบต่อสะตอทั้งด้านโรค-แมลงและระบบราก เอกสารอ้างอิง (Reference) ดลฤดี พิชัยรัตน์ และนพรัตน์ มะเห. (2561). การใช้ประโยชน์จากผักพื้นบ้านภาคใต้เพื่อเป็นแหล่งใย อาหารและสารต้านอนุมูลอิสระในผลิตภัณฑ์ขนมปัง. ใน รายงานการวิจัยการใช้ประโยชน์จากผัก พื้นบ้านภาคใต้. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. นิศารัตน์ ศิริวัฒนเมธานนท์. (2556). อาหารหลากสี มีประโยชน์หลากหลาย (ตอนที่ 1) : บทความเผยแพร่ ความรู้สู่ประชาชนอาหารหลากสี มีประโยชน์หลากหลาย (ตอนที่ 1) https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/ knowledge/article/148 หมอชาวบ้าน. (2565). ‘มันปู’ ยอดผักพื้นบ้านบารุงสุขภาพ . https://www.doctor.or.th/ social content/detail/404065. หมอชาวบ้าน. (2565). สมุนไพรใกล้ตัว มุ่งเสนอสรรพคุณทางยา การนาไปใช้ควรพิจารณาอย่างรอบด้าน. https://www.doctor.or.th/socialcontent/detail/404065. สายพิณ โชติวิเชียร. (2561). คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. สานักโภชนาการ กรมอนามัย สาธารณสุข . https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/book/download/?did=194494&id=47214&reload= Figure 5 Insect pests: F= Aphis craccivora Koch. G = Green Stink Bug (F: Form https://influentialpoints.com/Gallery/Chaitophorus_nigrae_pale-streaked_willow_aphid.htm ) F G

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3