งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 13 Abstract Andrographolide, known as the bioactive compound from medicinal plant Andrographis paniculata . In the studies we tested whether the symbiotic effect arbuscular mycorrhizal ( AM) fungi and liquid nutrients could enhance the yield of Andrographolide and the plant growth. To determine the studies, the experimental design was considered in CRD with 15 replications in 7 treatments; 4 AM fungi species ( G. intraradices , G. mosseae , G. clarus and Gi magarita ) , 2 formulate liquid nutrients (with or without phosphorus) and control. The result suggested the mycorrhization plants and both liquid nutrients treatments increased the plant growth; the root and the shoot biomass and the level of P content, and the level of Andrographolide, compare to the control. In addition, AM fungi, Gi magarita and G. clarus could show highly increased the amount of Andrographolide 13.81 and 13.22 mg/dried sample 1 g respectively. We concluded there were some appropriate species of AM fungi could be more possible effect to the yields of Andrographolide. However, the AM plants and the quality of the plant growth could be positive effect to A. paniculata and the bioactive compounds. Keywords : Arbuscular mycorrhiza fungi, Andrographolide, Andrgraphis paniculata, bioactive compound บทนา (Introduction) ฟ้าทะลายโจร ( Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall. Ex Nees) เป็นพืชสมุนไพรที่นิยมใช้ อย่างแพร่หลายในทวีปเอเชีย มีการจัดจาแนกอยู่ในวงศ์ Acanthaceae (Kuhn & Winston, 2000) สารออก ฤทธิ์สาคัญของฟ้าทะลายโจร คือ สารแอนโดรกราโฟไลด์ (Andrographolide) ซึ่งมีฤทธิ์ทางยา ใช้รักษาอาการ ของโรคและความผิดปกติต่าง ๆ ได้หลายชนิด ได้แก่ สามารถลดน้าตาลในเลือด (Husen et al., 2004) สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันและยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งหลายชนิด (Kumar et al., 2004) และต้าน การอักเสบ (Sheeja et al., 2006) เป็นต้น สาหรับประเทศไทย พบว่านิยมนาส่วนของลาต้น หรือใบสดของ ฟ้าทะลายโจรที่เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ และอยู่ในระยะก่อนการออกดอก มาใช้เพื่อรักษาอาการไข้หวัดหรือ ใช้เป็นยาแก้ไข้เจ็บคอ โรคท้องร่วง หรือแก้พิษแมลงกัดต่อย เป็นต้น (เต็มดวง สมศิริ, 2546) อย่างไรก็ตาม การ ปลูกฟ้าทะลายโจรเพื่อนามาสกัดสารสาคัญ หรือการแปรรูปสาหรับการผลิตเป็นอุตสาหกรรม พบว่าผลผลิตที่ ได้ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน เนื่องจากมีปริมาณและคุณภาพของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่ไม่สม่าเสมอ (แสงมณี ชิตดวง และคณะ, 2553) ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีแนวทางการจัดการหลายรูปแบบ ตัวอย่างเช่น การนา เชื้อจุลินทรีย์มาใช้เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตร่วมกับการปลูกพืชสมุนไพร จากรายงานของต่างประเทศพบว่า มีการนาเชื้อราไมคอร์ไรซา (Arbuscular mycorrhiza; AM) มาใช้เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ทาให้พืช มีความสมบูรณ์และสามารถทนทานต่อการเข้าทาลายของโรคและแมลงศัตรูพืช จึงช่วยลดการใช้สารเคมี
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3