งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 14 การเกษตรต่าง ๆ ที่เป็นอันตรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้พบว่ามีการศึกษาการปลูกถ่ายเชื้อราไมคอร์ ไรซาให้กับรากพืช เพื่อกระตุ้นหรือชักนาให้พืชสมุนไพรมีปริมาณสารทุติยภูมิหรือสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เพิ่มขึ้น ตัวอย่างเช่น ปริมาณสารกลุ่มฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ได้จากต้นโคลฟเวอร์แดง (red clover) (Khaosaad et al., 2008) การเพิ่มขึ้นของสารกลุ่มแอนติออกซิแดนท์ (antioxidant) ในใบและลาต้นโหระพา (sweet basil) ได้แก่ กรดโรสแมรินิค (rosmarinics acid) และ การเพิ่มขึ้นของน้ามันหอมระเหย (essential oil) กรด คาเฟอิค (caffeic acid) (Toussaint et al., 2007) โดยสายพันธุ์เชื้อราไมคอร์ไรซาที่มีรายงานการนามาใช้เพื่อ ส่ง เ สริมการเพิ่มปริมาณสารสาคัญในพืชสมุนไพร ได้แก่ Glomus mosseae Glomus intraradices Claroideoglomus etunicatum Rhizophagus fasciculatus Rhizophagus irregularis Glomus clarus และ Gigaspora magarita (Zhao et al., 2022) สาหรับการปลูกฟ้าทะลายโจรร่วมกับการใช้เชื้อราไมคอร์ ซานั้น พบว่ายังไม่มีรายงานที่ระบุเกี่ยวกับการใช้สายพันธุ์เชื้อราไมคอร์ไรซาเพื่อพิจารณาผลที่ เกิดขึ้นกับ สารสาคัญชนิดต่างๆ ของฟ้าทะลายโจร การศึกษาส่วนใหญ่เป็นการตรวจสอบชนิดของเชื้อราไมคอร์ซาในพื้นที่ ที่มีการปลูกฟ้าทะลายโจร ร่วมกับการสกัดสารสาคัญของฟ้าทะลายโจร ( Chiralmel et al., 2006) หรือ การศึกษาผลของการใช้เชื้อไมคอร์ไรซาร่วมกับการปลูกพืชชนิดต่าง ๆ ภายในวงศ์ Acanthaceae และสกัด สารสาคัญ (Gogoi & Singh, 2011) เป็นต้น ดังนั้นวัตถุประสงค์สาคัญของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการนาเชื้อราไม คอร์ไรซาแบบเชื้อบริสุทธิ์ที่มีรายงานการใช้ร่วมกับการปลูกสมุนไพรต่างๆ และมีผลดีต่อคุณภาพและปริมาณ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ มาทดสอบร่วมกับการปลูกฟ้าทะลายโจรเพื่อสกัดสารสาคัญ สาหรับนามาใช้เป็นแนว ทางการใช้ประโยชน์การผลิตพืชสมุนไพรให้มีคุณภาพต่อไป วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ (Material and Methodology) 1. การเตรียมต้นฟ้าทะลาย นาเมล็ดฟ้าทะลายโจรจากพื้นที่ปลูกในอาเภอกาแพงแสง จังหวัดนครปฐม ฟอกฆ่าเชื้อจุลินทรีย์บริเวณ ผิวของด้วยการแช่ในสารละลายคลอร็อก (clorox) ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ (ปริมาตร/ปริมาตร) นาน 2 นาที ล้างเมล็ดที่แช่ในสารละลายด้วยน้าสะอาดนึ่งฆ่าเชื้อ นาเมล็ดลงเพาะในถาดหลุมที่มีวัสดุดินพีทมอสที่ ฆ่าเชื้อด้วยไอน้าอุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว นาน 20 นาที จานวน 2 ครั้ง รดน้า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ เมื่อครบกาหนด นาต้นกล้าฟ้าทะลายโจร ย้ายปลูกลงในกระถาง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เซนติเมตร ที่บรรจุวัสดุปลูกประกอบด้วยดินและทรายในอัตราส่วน 1:1 และผ่าน การฆ่าเชื้อด้วยไอน้า วางไว้ในเรือนเพาะชา เป็นระยะเวลา 15 สัปดาห์ ดูแลด้วยการรดน้าต้นฟ้าทะลายโจร 3 ครั้งต่อสัปดาห์ 2. แผนการทดลอง วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ ประกอบด้วย 7 ชุดการทดลอง แต่ละชุดการทดลองมีจานวน 15 ตัวอย่าง ชุดการทดลองที่ 1 คือการทดลองควบคุม ชุดการทดลองที่ 2 - 5 คือต้นฟ้าทะลายโจรที่ได้รับ การปลูกถ่ายเชื้อราไมคอร์ไรซา มีจานวน 4 สายพันธุ์ และชุดการทดลองที่ 6 - 7 คือ ต้นฟ้าทะลายโจรที่ได้รับ ปุ๋ยสูตรน้า มีจานวน 2 สูตร
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3