งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร

งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 22 การศึกษาคุณภาพบางประการของน้าอ้อยคั้นน้าในการเปรียบเทียบเบื้องต้น A study on some qualities of juice cane juice in the preliminary trial ธีระรัตน์ ชิณแสน 1* ภาคภูมิ ถิ่นคา 1 แสงเดือน ชนะชัย 1 ปิยะรัตน์ จังพล 1 และกรองกาญจน์ ป้องปัญจมิตร 1 Theerarat Chinnasaen 1* , Parkpoom Thinkum 1 , Sangdaun Chanachai 1 , Piyarat Jungpol 1 and Krongkan Pongpanchamit 1 1 ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ตาบลศิลา อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 1 Khon Kaen Field Crops Research Center, Sila, Mueang Khon Kaen, Khon Kaen, 40000 * Corresponding author: E-mail: nongtheerarat@gmail.com บทคัดย่อ เกณฑ์การคัดเลือกอ้อยคั้นน้าโคลนดีเด่นมีหลายลักษณะที่นามาใช้ประกอบการคัดเลือกในขั้นตอน การปรับปรุงพันธุ์ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกอ้อยคั้นน้าโคลนดีเด่นด้วยการใช้คุณภาพประบาง การของน้าอ้อยคั้นน้า ได้แก่ ค่าสี (ระบบ Hunter Lab) ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายได้ (TSS) ค่าความ เป็นกรด-ด่าง (pH) และค่าการนาไฟฟ้า (EC) โดยดาเนินการศึกษาอ้อยคั้นน้า จานวน 24 พันธุ์/โคลน ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ในปี 2566 จากการศึกษาพบว่า สามารถคัดเลือกอ้อยคั้นน้าโคลนดีเด่นที่มีคุณภาพ น้าอ้อยใกล้เคียงกับพันธุ์เปรียบเทียบโดยเฉพาะอย่างยิ่งพันธุ์ กวก. สุพรรณบุรี 50 จานวน 4 โคลน ได้แก่ โคลน KKj19-1 KKj19-2 KKj19-10 และ KKj19-21 โดยโคลนอ้อยดังกล่าวมีค่าความเป็นสีเขียว (-a*) ตั้งแต่ -2.31 ค่าความเป็นสีน้าเงิน (-b*) ไม่เกิน -4.69 และค่า TSS มีค่าระหว่าง 19 - 20 º Brix ขณะที่ ค่า pH และ EC มีค่า ไม่แตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับพันธุ์เปรียบเทียบ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การคัดเลือกอ้อยคั้นน้าโคลน ดีเด่นครอบคลุมถึงคุณลักษณะอื่น ๆ ควรนามาใช้ร่วมกับหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพของน้าอ้อยคั้นน้า ลักษณะอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน คาสาคัญ: กวก. สุพรรณบุรี 50 ค่าความเป็นสีเขียว ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายได้ น้าอ้อยคั้นน้า

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3