งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 24 เป็นต้น (Field and Renewable Crops Research Institute [FCRI], 2023) โดยการประเมินคุณภาพของ น้าอ้อยมีหลายวิธีการที่นามาใช้ปฏิบัติ เช่น การทดสอบทางประสาทสัมผัส อย่างไรก็ตาม คุณภาพของน้าอ้อย คั้นน้ายังสามารถประเมินได้จากหลายลักษณะ เช่น สมบัติทางเคมีกายภาพ สมบัติทางเคมี และองค์ประกอบ ของสารประกอบฟีลนอลิก เป็นต้น Chunwijitra et al. (2021) รายงานว่า อ้อยคั้นน้าพันธุ์ กวก. สุพรรณบุรี 50 ที่เก็บรักษานาน 1 วัน มีสีเหลืองอมเขียว มีค่าความสว่าง (L*) ค่าความเป็นสีแดง (a*) และค่าความเป็นสี เหลือง (b*) เท่ากับ 37.60 ถึง 37.76 -0.64 ถึง -5.56 และ 2.46 ถึง 3.03 ตามลาดับ โดยมีค่า TSS เท่ากับ 20-21 º Brix และ pH เท่ากับ 5.58 - 5.74 ขณะที่ Chinnasaen et al. (2022) รายงานว่า อ้อยคั้นน้าพันธุ์ กวก. ศรีสาโรง 1 มีค่าความเป็นสีเขียวต่าสุด เท่ากับ -2.750 และพันธุ์ SP50 มีค่าความเป็นสีน้าเงินต่าสุด เท่ากับ -1.371 พันธุ์ กวก. สุพรรณรบบุรี 1 มีค่า TSS สูงสุด เท่ากับ 21.43 º Brix ขณะที่ พันธุ์ กวก. ศรีสาโรง 1 มีค่า pH สูงสุด เท่ากับ 5.51 และพันธุ์ กวก. สุพรรณรบบุรี 1 มีค่า EC สูงสุด เท่ากับ 4.114 mS/cm เพื่อให้ได้อ้อยคั้นน้าพันธุ์ใหม่พร้อมทั้งเป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคต่อการบริโภคน้าอ้อยคั้นน้า การใช้คุณสมบัติทางเคมีกายภาพ คุณสมบัติทางเคมี จึงอาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่นามาใช้ประกอบ การคัดเลือกพันธุ์อ้อยน้า โดยค่าคุณลักษณะดังกล่าวยังให้ข้อมูลเชิงปริมาณ (ตัวเลข) ที่ชัดเจน ดังนั้น การศึกษา ในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางเคมีกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีบางประการของน้าอ้อย คั้นน้ามาใช้ประกอบการคัดเลือกพันธุ์อ้อยคั้นน้าในชั้นการเปรียบเทียบเบื้องต้นสู่การปลูกทดสอบอ้อยคั้นน้าชั้น มาตรฐานและสามารถนามาใช้เป็นแนวทางประกอบการคัดเลือกอ้อยคั้นน้าโคลนดีเด่น รวมถึงการรับรองพันธุ์ อ้อยคั้นน้าพันธุ์ใหม่ในลาดับต่อไป วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ (Material and Methodology) สิ่งที่ใช้ในการทดลองและการปลูกอ้อยคั้นน้า อ้อยโคลนดีเด่นที่อยู่ในขั้นตอนการเปรียบเทียบเบื้องต้น 20 โคลน ได้แก่ KKj19-1 KKj19-2 KKj19-3 KKj19-5 KKj19-9 KKj19-10 KKj19-11 KKj19-12 KKj19-17 KKj19-20 KKj19-21 KKj19-24 KKj19-25 KKj19-26 KKj19-27 KKj19-29 KKj19-30 KKj19-31 KKj19-32 และ KKj19-34 และพันธุ์ เปรียบเทียบ 4 พันธุ์ ได้แก่ DOA SP1 DOA SR1 DOA SP50 และ Singapore รวมอ้อยคั้นน้าที่ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้ จานวน 24 พันธุ์/โคลน โดยปลูก ณ แปลงทดลองท่าพระ ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น ตาบล ท่าพระ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ในปี 2565 ด้วยการวางแผนการเพาะปลูกแบบ RCB จานวน 3 ซ้า ใส่ปุ๋ย สูตร 15-15-15 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกใส่พร้อมปลูกอ้อย อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ครั้งที่ 2 ใส่เมื่ออ้อยมีอายุ 3 เดือนหลังปลูก อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ กาจัดวัชพืชตลอดการทดลองเก็บเกี่ยว เมื่ออ้อยคั้นน้ามีอายุ 12 เดือนหลังปลูก วิธีการหีบอ้อยคั้นน้า ปอกเปลือกอ้อยคั้นน้าด้วยมีดปอกผลไม้ ล้างทาความสะอาด ผึ่งลมให้สะเด็ดน้า นาน 10-15 นาที ตัดลาอ้อยให้มีความยาวประมาณ 50-60 เซนติเมตร แล้วนาไปคั้นน้าอ้อยด้วยเครื่องหีบไฟฟ้า (Hatsuyuki, ประเทศไทย) และกรองน้าอ้อยด้วยผ้าขาวบางหนา 4 ชั้น (Chinnasaen et al., 2022) บรรจุน้าอ้อยในขวด
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3