งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร
งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 25 แก้วขนาดบรรจุ 500 มล. ปิดฝาให้สนิท และเก็บรักษาในตู้เย็นที่อุณหภูมิประมาณ 4 º C นาน 24 ชม. (ในบาง กรณีมีความจาเป็นต้องเก็บรักษาเพื่อการบริโภคในวันถัดไปหลังหีบน้าอ้อย เช่น เพื่อการจาหน่าย) เพื่อศึกษา คุณภาพน้าอ้อยคั้นน้าในลาดับต่อไป การศึกษาคุณภาพน้าอ้อยคั้นน้า นาน้าอ้อยคั้นน้าทั้ง 24 พันธุ์/โคลน จานวน 3 ซ้า มาทดสอบคุณสมบัติทางเคมีกายภาพ (ค่าสี) และ คุณสมบัติทางเคมี (ค่า TSS pH และ EC) พร้อมบันทึกภาพน้าอ้อยคั้นน้า ได้แก่ 1. ค่าสี วัดสี โ ดย ใ ช้ เ ครื่ อ ง Colorimeter ( NH310,3nh, Shenzhen Threenh Technology, ประเทศจีน) ในระบบ Hunter Lab ได้แก่ ค่าความสว่าง (L*) ค่าความเข้มของสีแดง-สีเขียว (a*) และค่าความเข้ม ของสีเหลือง-สีน้าเงิน (b*) 2. ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายได้ ( Total soluble solid, TSS) วัดด้วยเครื่อง Digital refractometer (OPTi® Digital Handheld Refractometer, Bellingham + Stanley, สหราชอาณาจักร) หน่วยเป็นองศาบริกซ์ ( º Brix) 3. ค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) วัดด้วยเครื่อง OAKTON (600 Series Waterproof Portable Meter Kit, ประเทศสิงคโปร์) 4. ค่าก า ร นา ไฟฟ้า ( Electrical conductivity, EC) วัดด้วย เ ครื่ อ ง OAKTON ( 600 Series Waterproof Portable Meter Kit, ประเทศสิงคโปร์) การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ศึกษาคุณภาพน้าอ้อยคั้นน้าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติแบบ RCB จานวน 3 ซ้า โดยวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางสถิติของอ้อยคั้นน้า 24 พันธุ์/โคลน ในแต่ละลักษณะที่ทาการศึกษา และเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยด้วยวิธี Duncan’s New Multiple’s Range Test ที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์ ด้วยโปรแกรม สาเร็จรูป ผลและอภิปราย (Result and Discussion) น้าอ้อยคั้นน้ามีลักษณะทาง เคมีกายภาพแตกต่างกัน (จาก Figure 1 สีน้าอ้อยอาจมีความ คลาดเคลื่อน จากมุมกล้อง ภาชนะบรรจุ หรือคุณภาพของกล้องบันทึกภาพ) อาจเนื่องมาจากการควบคุมทาง พันธุกรรมของพันธุ์/โคลนอ้อยนั้น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอ้อยเป็นพืชที่มีจานวนโครโมโซมหลายชุด (polyploid) รวมถึงมีจานวนโครโมโซมเพิ่มขึ้นหรือลดลงในบางโครโม โซม ( aneuploid) (National Science and Technology Development Agency NSTDA, 2021) ขณะเดียวกัน สีของน้าอ้อยคั้นน้าที่ปรากฏนั้นเกิดจาก สารประกอบอินทรีย์ เช่น แคโรทีน (carotene) โพลีฟีนอล (polyphenols) ฟลาโวนอยด์ (flavonoids) และ คลอโรฟิลล์ (chlorophylls) เป็นต้น (Honig, 2013) จากองค์ประกอบของระดับและชนิดของสารประกอบ อินทรีย์ที่หลากหลายจึงอาจเป็นสาเหตุให้น้าอ้อยคั้นน้ามีสีที่แตกต่างกัน ดังค่าสีที่วัดได้จากเครื่อง colorimeter โดย Chunwijitra et al. (2021) รายงานว่า น้าอ้อยคั้นน้าพันธุ์ กวก. สุพรรณบุรี 50 ที่เก็บรักษานาน 1 วัน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3