งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร

งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 27 น้ า อ้ อ ย เ พื่ อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร คั ด เ ลื อ ก พั น ธุ์ ห รื อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ป ร ะ เ ด็ น ด้ า น อื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น เทคโนโลยีด้านดิน-ปุ๋ยเพื่อการผลิตอ้อยคั้นน้า เป็นต้น สรุปผล (Conclusion) จากการศึกษาคุณภาพน้าอ้อยคั้นน้าพันธุ์/โคลนอ้อยที่แตกต่างกันเปรียบเทียบกับพันธุ์เปรียบเทียบ โดยเฉพาะพันธุ์ กวก. สุพรรณบุรี 50 ซึ่งเป็นพันธุ์อ้อยคั้นน้าที่นิยมเพาะปลูกและบริโภคอย่างแพร่หลายใน ประเทศไทย (Bangkokbiznews, 2022) พบว่า ค่าความสว่าง (L*) มีค่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยค่าเฉลี่ยทั้ง 24 พันธุ์/โคลน มีค่าเท่ากับ 63.97 หรือมีค่าระหว่าง 63.89 ถึง 64.04 โดยพันธุ์ กวก. สุพรรณบุรี 50 มีค่าความ สว่าง (L*) เท่ากับ 64.04 เช่นเดียวกับโคลน KKj19-2 และใกล้เคียงกับค่าความสว่าง (L*) ของโคลน KKj19-10 KKj19-21 KKj19-25 และ KKj19-27 ที่มีค่า เท่ากับ 64.02 ขณะที่ ค่าความเป็นสีเขียว (-a*) และค่าความเป็น สีน้าเงิน (-b*) มีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ โดยโคลน KKj19-31 มีค่าความเป็นสีเขียว (-a*) น้อยที่สุด เท่ากับ -2.27 และโคลน KKj19-1 KKj19-25 และพันธุ์สิงคโปร์ มีค่าความเป็นสีเขียว (-a*) มากที่สุด เท่ากับ -2.33 รองลงมาคือ โคลน KKj19-10 KKj19-26 KKj19-30 และ KK19-34 มีค่าเท่ากับ -2.32 ขณะที่ พันธุ์เปรียบเทียบ ได้แก่ กวก. สุพรรณบุรี 1 กวก. ศรีสาโรง 1 และ กวก. สุพรรณบุรี 50 มีค่าความเป็นสีเขียว (-a*) เท่ากับ -2.31 ด้านค่าความเป็นสีน้าเงิน (-b*) มีค่าต่าที่สุด เท่ากับ -4.63 ในโคลน KKj19-10 รองลงมาคือ โคลน KKj19-2 และ KKj19-21 ที่มีค่าความเป็นสีน้าเงิน (-b*) เท่ากับ -4.68 และ โคลน KKj19-1 KKj19-21 KKj19-31 และพันธุ์ กวก. สุพรรณบุรี 50 มีค่าเท่ากับ -4.69 (Table 1, Figure 1) สาหรับปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายได้ของพันธุ์/โคลนอ้อยคั้นน้าที่แตกต่างกันมีผลให้อ้อยคั้นน้า มีค่า TSS แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ โดยโคลน KKj19-21 มีค่า TSS สูงที่สุด เท่ากับ 21.8 º Brix รองลงมาคือ โคลน KKj19-1 และ KKj19-34 มีค่า TSS เท่ากับ 21.2 º Brix ขณะที่ โคลน KKj19-5 และพันธุ์ สิงคโปร์มีค่า TSS ต่าที่สุด เท่ากับ 18.0 และ 18.3 º Brix ตามลาดับ ทั้งนี้ พันธุ์เปรียบเทียบของกรมวิชาการ เกษตร ได้แก่ พันธุ์ กวก. ศรีสาโรง 1 กวก. สุพรรณบุรี 50 และ กวก. สุพรรณบุรี 1 มีค่า TSS เท่ากับ 19.0 19.9 และ 20.8 º Brix ตามลาดับ ด้านค่า pH และ ค่า EC ของน้าอ้อนคั้นน้าทั้ง 24 พันธุ์/โคลนมีค่าไม่แตกต่าง กันทางสถิติ โดยอ้อยทั้ง 24 พันธุ์/โคลน มีค่า pH และ ค่า EC เท่ากับ 5.39 และ 4.954 mS/cm (Table 1) จากการศึกษาคุณภาพน้าอ้อยคั้นน้าซึ่งประกอบด้วย ค่าสี ค่า TSS ค่า pH และ ค่า EC พบว่า พันธุ์/ โคลนอ้อยคั้นน้าที่แตกต่างกันมีค่าสีซึ่งประกอบด้วย ค่าความเป็นสีเขียว ( -a*) และค่าความเป็นสีน้าเงิน (-b*) และค่า TSS แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ โดยทั่วไปอ้อยคั้นน้ามีสีเหลืองอมเขียว (Chunwijitra et al., 2021) และพันธุ์อ้อยคั้นน้าที่นิยมเพาะปลูกและบริโภคในประเทศไทยคือ พันธุ์ กวก. สุพรรณบุรี 50 (Bangkokbiznews, 2022) เพื่อให้ได้อ้อยคั้นน้าที่มีคุณภาพน้าอ้อยใกล้เคียงกับพันธุ์ กวก. สุพรรณบุรี 50 จาก การศึกษานี้อ้อยคั้นน้าจึงควรมีค่าความเป็นสีเขียว ( -a*) ตั้งแต่ -2.31 เป็นต้นไป ขณะที่ ค่าความเป็นสีน้าเงิน (-b*) ควรมีค่าไม่เกิน -4.69 ด้านค่า TSS ควรมีค่าระหว่าง 19 - 20 º Brix ดังนั้น อ้อยคั้นน้าโคลนดีเด่นที่ผ่าน การคัดเลือกด้วยเกณฑ์คุณสมบัติทางเคมีกายภาพ และคุณสมบัติทางเคมีจึงมี 4 โคลน ได้แก่ KKj19-1 KKj19- 2 KKj19-10 และ KKj19-21 จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า สามารถนาค่าเชิงปริมาณของค่าความเป็น

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3