งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร

งานประชุมวิชาการ “เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร” ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 – 2 สิงหาคม 2567 ณ ทักษิณาคาร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง JTAI 2024: The 1 st Conference of Technology and Agricultural Innovation between 1 – 2 August 2024 At Thaksinakhan Thaksin University 2 Abstract The study on phytotoxicity of mesotrione+ atrazine, topramezone and atrazine herbicides in Musa ( AAA) ‘ Kluai Hom Thong’ . The experiment was conducted at Mueang Phetchaburi district, Phetchaburi province. The experimental was arranged in a RCB with five replications and four treatments including mesotrione+atrazine 2.5+25% SC, topramezone 33.6% SC and atrazine 50% SC at 165, 8.4 and 400 g ai/rai compare with nontreated. The results showed that mesotrione+atrazine is moderately toxic at 7 days after application. The cigar leaf and immature leaf bleached. The other leaves are necrosis around the leaf margin. Then there is severely toxic at 15 days after application. The cigar leaf and immature leaf bleached. The other leaves are necrosismore than 50 % of the leaf area. Musa (AAA) ‘Kluai Hom Thong’ can then grow normally 30 days after application. While topramezone and atrazine is slightly toxic at 7 days after application. The cigar leaf and immature leaf changes to light greenish white, but the other leaves are normal. For atrazine; The cigar leaf and immature leaf can then grow normally, the III leaf are necrosis around the leaf margin. Musa (AAA) ‘Kluai Hom Thong’ can then grow normally 15 days after application. Keywords : Musa (AAA) ‘Kluai Hom Thong’, phytotoxicity, mesotrione+atrazine, topramezone, atrazine บทนา (Introduction) การจัดการวัชพืชในแปลงกล้วยหอมปลูกใหม่มีความสาคัญโดยเฉพาะในช่วงที่กล้วยหอมมีอายุ 1-3 เดือนหลังปลูก เนื่องจากเป็นระยะที่กล้วยหอมต้องการความชื้นสูง จึงเป็นสาเหตุให้การแข่งขันของวัชพืชเกิดขึ้น สูง การปล่อยให้วัชพืชขึ้นแข่งขันกับกล้วยหอมตั้งแต่เริ่มปลูก ส่งผลให้การเจริญเติบโตของกล้วยหอมชะงัก ต้นแคระแกร็น และวัชพืชยังเป็นที่อยู่อาศัยของศัตรูพืชอื่น ๆ อีกทั้งยังเป็นสาเหตุทาให้ยากต่อการเข้าไปปฏิบัติ ดูแลรักษา เช่น การใส่ปุ๋ย การพ่นสารกาจัดแมลงและโรค เป็นต้น (พรชัย เหลืองอาภาพงศ์, 2540; กลุ่มวิจัยวัชพืช, 2560) การควบคุมวัชพืชมีหลายวิธี เช่น ใช้เครื่องจักรกล แรงงานคน หรือใช้สารกาจัดวัชพืช ซึ่งปัจจุบันเกษตรกร ประสบปัญหาขาดแคลนแรงงาน และค่าจ้างแรงงานสูง เกษตรกรจึงนิยมใช้สารกาจัดวัชพืชในการป้องกันกาจัดเพิ่ม มากขึ้น โดยสารกาจัดวัชพืช ที่เกษตรกรนิยมใช้ คือ สาร paraquat เช่นเดียวกับประเทศออสเตรเลียที่มีการใช้สาร กาจัดวัชพืช paraquat เพื่อกาจัดวัชพืชในกล้วย (Pattison, 2016) แต่ในปัจจุบันประเทศไทยได้ยกเลิกการใช้ สารกาจัดวัชพืช paraquat ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2563 เนื่องจากมีความไม่ปลอดภัยต่อเกษตรกรผู้ใช้ ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม (ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม, 2563) จากปัญหาการยกเลิกการใช้สารกาจัดวัชพืช paraquat ข้างต้น ส่งผลให้เกษตรกรไทย ไม่สามารถใช้สารกาจัดวัชพืช paraquat ได้อีกต่อไป ดังนั้นงานวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืชมีโซไตรโอน+อะทราซีน โทพรามีโซน และอะทราซีน ในกล้วยหอมทอง สาหรับเป็นทางเลือกแทนการใช้สารกาจัดวัชพืช paraquat ให้แก่เกษตรกร

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3