รายงานประจำปี2552

ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ มีการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์สู่มหาวิทยาลัยแห่งความสุข มีวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง มีธรรมาภิบาล พึ่งพาตนเองได้ เป้าประสงค์ (Goal) มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยมาตรฐานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ สมบูรณ์ แบบ และพึ่งพาตนเองได้ กลยุทธ์ เสริมสร้างศักยภาพการพึ่งพาตนเองได้ด้วยการจัดการทรัพยากรการบริการวิชาการ (Efficiency Perspective) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม และกระบวนการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและประเมินศักยภาพขององค์กรเป็นขั้นตอนส�ำคัญ เพื่อให้การจัดท�ำแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงทั้งสภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก โดยแบ่งออกเป็น ด้าน 4 ที่สอดคล้องกับของ มหาวิทยาลัยทักษิณ ดังนี้ ด้านผลิตบัณฑิต จุดแข็ง (Strengths) S1 ที่ตั้งของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณทั้งวิทยาเขตสงขลา และพัทลุง เอื้อต่อการเป็นศูนย์กลาง ในการสร้างเครือข่ายทางวิชาการทั้งในมิติระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ โดยเฉพาะ อาเซียนตอนใต้ ซึ่งสามารถเป็นฐานในการที่จะสร้างบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการรองรับ ในสังคมพื้นที่ และสังคมอาเซียนเนื่องจากอยู่ในจังหวัดที่มีการคมนาคมสะดวก เป็นศูนย์รวมของ หน่วยงานด้านการยุติธรรมทั้งระดับจังหวัดและระดับภูมิภาค S2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนหลายวิชาเน้นให้นิสิตฝึกปฏิบัติการโดยใช้พื้นที่ชุมชนเป็นฐาน ในการเรียนรู้ บัณฑิตมีความโดดเด่นผสมผสานทางด้านวิชาการและทักษะเชิงปฏิบัติการ ท�ำให้เกิดความรู้ มีความตระหนักในการเป็นส่วนหนึ่งของการรับใช้สังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง S3 การผลิตบัณฑิตได้รับความร่วมมือด้านต่าง ๆ จากหลากหลายหน่วยงาน ได้แก่ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ส�ำนักงานอัยการ มหาวิทยาลัยในพื้นที่ หน่วยงานปกครองและท้องถิ่น รวมทั้ง ภาคเอกชนในการร่วมกันจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานิสิตให้ส�ำเร็จเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ได้รับ การยอมรับในระดับประเทศ บัณฑิตส�ำเร็จการศึกษาและออกไปรับใช้สังคมในภาพกว้าง การร่วม มือกับองค์กรต่าง ๆ พัฒนาหลักสูตรและจัดอบรมพัฒนาบุคลากรให้กับหน่วยงานต่าง ๆ และมีการ แลกเปลี่ยนนิสิตกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศเรียนร่วมกัน เป็นต้น จุดอ่อน (Weaknesses) W1 กระบวนการในการบริหารจัดการหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อการผลิตบัณฑิต คุณภาพยังไม่มีจุดเด่น ยังไม่ทันสมัยที่ก้าวน�ำการเปลี่ยนแปลงในยุคการแข่งขันกับสถาบันการศึกษา ทั้งในและต่างประเทศ W2 นิสิตบางส่วนขาดความตระหนักและกระตือรือร้นในการใช้ทักษะสากล ท�ำให้เกิดการปิดกั้นโลกทัศน์ ชีวทัศน์ และการเข้าถึงองค์ความรู้ในภาพกว้างมีข้อจ�ำกัด ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาความเป็นเลิศ ด้านวิชาการและการปรับตัวสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างเท่าทันในยุคการแข่งขันและการปรับตัวเท่าทัน การเปลี่ยนแปลง 11 รายงานประจ�ำปีการศึกษา 2558 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3