รายงานประจำปี2552

W3 คณะและสาขาวิชา ยังไม่เปิดตัวเองสู่สังคมนานาชาติ ไม่มีหลักสูตรนานาชาติ แม้จะมีข้อตกลง ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ แต่ยังมีกิจกรรมความร่วมมือกันน้อยมาก อาจารย์ บุคลากรและนิสิตยังขาดสมรรถนะด้านภาษา ท�ำให้ไม่สามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ในระดับนานาชาติได้ W4 ขาดคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญ นานาชาติ เพื่อตอบสนองต่อการแข่งขันทาง การศึกษา อาจารย์ มีคุณวุฒิปริญญาเอก ต�ำแหน่งทางวิชาการ และผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัยระดับนานาชาติน้อย W5 สถานที่ในการจัดการเรียนการสอนไม่ เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน ด้านนิติศาสตร์ เช่น การจัดห้องเรียนด้านกฎหมาย ขนาดห้องเรียนที่เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เรียน รวมทั้งมหาวิทยาลัยยังขาดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่จ�ำเป็นและเอื้อต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของนิสิต เช่น สถานที่ออกก�ำลังกายทั้งในร่มและกลางแจ้ง ศูนย์อาหาร สถานพยาบาล พื้นฐาน และอาคาร กิจกรรมนิสิต ซึ่งไม่เอื้อต่อการเป็นองค์กรแห่งความสุข W6 มีอัตราส่วนอาจารย์ต่อนิสิตไม่สมดุล โอกาส (Opportunities) O1 บัณฑิตของมหาวิทยาลัยนับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งสามารถเชื่อมโยงการบูรณาการพัฒนาทางการศึกษา การบริการวิชาการ การวิจัย ร่วมกับประเทศมุสลิม O2 ประชาชนในภาคใต้มีความนิยมและสนใจทางด้านนิติศาสตร์ O3 นโยบายการจัดการศึกษาของประเทศสนับสนุนในเรื่องการปฏิรูปการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ/ นโยบายการกระจายโอกาสทางการศึกษาโดยยึด Area Based ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา และ สร้างคุณค่าแก่ชุมชนท�ำให้มหาวิทยาลัยสามารถขยายช่องทางและโอกาสทางการศึกษา เพื่อสนอง ต่อนโยบายของรัฐ และท�ำให้มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยของปวงชน (Mass University) และ เน้นการผลิตบัณฑิตวิชาชีพมากยิ่งขึ้น O4 จากปัญหาวิกฤตการณ์ชายแดนภาคใต้ ท�ำให้รัฐบาลเห็นความส�ำคัญและสนับสนุนงบประมาณและ สร้างความร่วมมือในการสร้างหลักสูตรการผลิตบัณฑิต การบูรณาการการวิจัย และการบริการวิชาการ ได้อย่างมีคุณภาพ เพื่อการแก้ไขปัญหา และการเสริมสร้างสันติสุขชายแดนภาคใต้ เช่น หลักสูตร ประกาศนียบัตร เสริมสร้างสันติสุขชายแดนใต้ การให้ทุนสนับสนุนการศึกษาต่อระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ส�ำหรับนิสิตและบุคลากร ทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น O5 การเปิดประชาคมอาเซียนท�ำให้มีตัวเลือกของนิสิตที่จะเข้ามาสู่กระบวนการจัดการศึกษาเปิดกว้าง มากขึ้นทั้งด้านการผลิตบัณฑิตในหลักสูตรปริญญา และการศึกษาต่อเนื่อง O6 ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการการจัดการศึกษา และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถน�ำมาใช้ เพื่อการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย และการจัดการสื่อสารในภาพกว้างทั้งใน และต่างประเทศ O7 มีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาในระดับนานาชาติ เป็นโอกาสในการพัฒนา การเรียนการสอน และคณาจารย์ของคณะ ภัยคุกคาม (Threats) T1 สถานการณ์ความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลให้เกิดภาพลักษณ์ความไม่ปลอดภัยในการมา ศึกษาต่อในพื้นที่จากกลุ่มเป้าหมายนิสิตในพื้นที่อื่น ๆ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ และส่งผลให้ นิสิตไม่มีความหลากหลาย ไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้เชิงพหุวัฒนธรรม (Multi - Cultural Learning) Annual Report 2015 Faculty of Law Thaksin University 12

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3