รายงานประจำปี2552

T2 มีการแข่งขันทางการศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ ท�ำให้เกิดธุรกิจทางการศึกษา ส่งผลให้มีผู้เข้าศึกษาจ�ำนวนน้อยลง ด้านวิจัย จุดแข็ง (Strengths) S4 มีแหล่งงบประมาณเพียงพอส�ำหรับสนับสนุนงานวิจัย สามารถผลักดันให้เกิดนักวิจัยรุ่นใหม่ที่สร้าง ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคมภาคใต้ และมีผลงานการวิจัย นวัตกรรม งานสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาในพื้นที่ที่ได้รับการยอมรับในประเทศ และนานาชาติ จุดอ่อน (Weaknesses) W8 นักวิจัยคุณภาพระดับชาติ นานาชาติมีปริมาณน้อย ขาดการบริหารสมรรถนะนักวิจัยอย่างเป็นระบบ ไม่มีผลงานโดดเด่นในการชี้น�ำการพัฒนาในพื้นที่ ประเทศ และระดับประชาคมอาเซียน ซึ่งเป็นปัญหา หลักของการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคม W9 การเชื่อมโยงองค์ความรู้จากการวิจัยเพื่อบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนและการบริการวิชาการ ยังมีน้อยไม่มีการน�ำองค์ความรู้จากการท�ำวิจัยไปพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และ การถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน W10 การเผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติยังมีน้อยภาพลักษณ์ด้านการวิจัยไม่มีความโดดเด่น และขาดความชัดเจนด้านบทบาททางวิชาการต่อสังคม โอกาส (Opportunities) O8 มีแหล่งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่หลากหลายสามารถพัฒนางานการวิจัย นวัตกรรมจากพื้นฐานทาง ภูมิสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่สามารถต่อยอดการเรียนรู้ทางด้านภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ภาคใต้เพื่อการตอบสนองความต้องการ และชี้น�ำการพัฒนาในพื้นที่ภาคใต้ ประเทศ และประชาคม อาเซียน O9 มีเครือข่ายการวิจัยในรูปแบบองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน บุคคล ทั้งภายใน และต่างประเทศที่ สามารถ พัฒนางานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมบนพื้นฐานภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ตอบสนอง ความต้องการและชี้น�ำการพัฒนาในพื้นที่ภาคใต้ ประเทศ และประชาคมอาเซียน O10 นโยบายและมาตรฐานระดับอุดมศึกษาก�ำหนดให้สถาบันการศึกษามีการจัดการเรียนการสอนที่ บูรณาการกับการวิจัยและการบริการวิชาการซึ่งสามารถน�ำมาก�ำหนดเป็นฐานการวางแผน การด�ำเนินงานในภาคปฏิบัติได้สอดคล้องกับนโยบายของชาติ O11 การเปิดเสรีอาเซียนท�ำให้มีความสะดวกและความคล่องตัวในการสร้างเครือข่ายด้านการวิจัย บูรณาการ การวิจัยร่วมกับการเรียนการสอน และการบริการวิชาการ สู่การแก้ปัญหาและพัฒนา สังคมภาคใต้ O12 รัฐบาล หน่วยงานในส่วนกลาง สนับสนุนงบประมาณจ�ำนวนมากในการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาความไม่สงบ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถผลิตผลงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการและการชี้น�ำ การพัฒนาในพื้นที่ภาคใต้ O13 มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับฯ สามารถก�ำหนดระเบียบข้อบังคับ ประกาศ ที่สนับสนุน งานวิจัยอย่างเหมาะสมกับทิศทางการพัฒนาการวิจัยเพื่อตอบสนองความต้องการและชี้น�ำการพัฒนา ในพื้นที่ภาคใต้ ประเทศ และประชาคมอาเซียน 13 รายงานประจ�ำปีการศึกษา 2558 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3