เอกสารประชุมวิชาการระดับขาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 2561

1105 งานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Research and Innovation for Social Stability, Prosperity and Sustainability) 2. สาøลąลายđกลืออĉęมêัว ในการศึกษาครั้งนี้เลือกใช้สารละลายเกลืออิ่มตัว 4 ชนิด ได้แก่ ลิเทียมคลอไรด์ (LiCl), แมกนีเซียมคลอไรด์เăก ซะไăเดรต (MgCl 2 6(H 2 O)), โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) และโพแทสเซียไนเตรต (KNO 3 ) แสดงค่าความชื้นสัมพัทธ์ที่อุณหภูมิ ต่าง ė ดังตารางที่ 1 êาøางทĊęǰ 1 ความชื้นสัมพัทธ์ (RH) ของสารละลายเกลืออิ่มตัว [9] Temperature Relative Humidity (decimal) ( o C) LiCl MgCl 2 .6(H 2 O) NaCl KNO 3 50 0.1110 0.3054 0.7443 0.8478 60 0.1095 0.2926 0.7450 0.8478 70 0.1080 0.2770 0.7360 0.8478 3. วĉíĊกาøทดลอง ทาการเตรียมสารละลายเกลืออิ่มตัวทั้ง 4 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ ใส่ในขวดโหลปิดสนิท ปริมาตรขวดละ 250 ลูกบาศก์มิลลิเมตร นาเนื้อหมากที่เตรียมไว้ประมาณ 20 - 5 กรัม ในตะแกรงแล้วแขวนไว้ในขวดบรรจุสารละลายเกลือ อิ่มตัวที่เตรียมไว้ทั้ง 4 ชนิด ทาซ้าอย่างละ ขวด นาไปวางในตู้ควบคุมอุณหภูมิยี่ห้อ Memmert รุ่น UFE 700 ควบคุม อุณหภูมิในแต่ละครั้งที่ 50 60 และ 70 องศาเซลเซียส รอจนเนื้อหมากเข้าสู่สมดุลกับสภาวะแวดล้อม โดยนาเนื้อหมาก ออกมาชั่งหาน้าหนักหลังเข้าตู้ควบคุมอุณหภูมิได้ประมาณ 5 วัน และชั่งน้าหนักของเนื้อหมากทุกวัน จนกระทั่งน้าหนักมีค่า ค่อนข้างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงหรือน้าหนักมีค่าแตกต่างกันกับวันก่อนหน้านี้ที่ระดับ 0. 0 กรัม จึงนาเนื้อหมากออกมาหา ความชื้นตามมาตรฐาน AOAC [9] นาข้อมูลความชื้นสมดุลที่ได้กับความชื้นสัมพัทธ์ที่อุณหภูมิต่าง ė มาวิเคราะห์เพื่อหา ค่าพารามิเตอร์ของแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางสถิติคานวณค่าสัมประสิทธิ์ของการตัดสินใจ (Coefficient of Determination, R 2 ) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของสมการถดถอย (Standard Error of Estimation, SEE) และค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อนกาลังสอง (Root Mean Square Error, RMSE) แสดงดังสมการที่ (1) (2) และ (3) ตามลาดับ                  1 1 n eq(exp,i) eq(pre,i) 2 i n 2 eq(exp,i) eq(pre,i) i (M M ) R (M M ) (1)      1 n 2 eq(exp,i) eq(pre,i) i (M M ) SEE n 2 (2)     1 n 2 eq(exp,i) eq(pre,i) i 1 RMSE (M M ) n (3) เมื่อ eq(exp,i) M คือ ค่าความชื้นสมดุลจากการทดลอง (% มาตรฐานแห้ง ) ที่ค่า i ใด ė eq(p re,i) M คือ ค่าความชื้นสมดุลจากแบบจาลอง (% มาตรฐานแห้ง ) ที่ค่า i ใด ė n คือ จานวนสมาชิกหรือจานวนค่าที่สังเกต

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3