Proceeding2562

1529 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน องค์ความรู้ในการรักษาโรค หมอจรูญ ชูจันทร์ หมอสนิท ถาพร สัง เกต จ าก ลั กษณ ะ ภ าย น อก แ ล ะ ลักษณะรอยโรคบริเวณร่างกายของ ผู้ป่วย จากนั้นหมอจะทาการวินิจฉัยโรค ของผู้ป่วย ขั้นตอนการรักษา หม อจะ เลื อกต ารับ ย าสมุน ไพ ร ที่ มี สรรพคุณตรงกับโรคของผู้ป่วย โดยยึด หลักในการตั้งตารับยา ตัวยาสมุนไพร และวิธีการใช้ตามในตาราที่ได้เรียนมา มี การเขียนและเสกคาถา ลงอักขระในตัว ยาสมุนไพรบางชนิดก่อนนาไปปรุงยา ให้กับผู้ป่วย และมีการเสกคาถาหลังการ ต้มยาสมุนไพรเสร็จ หลักการตั้งตารับยา ยึดส่วนที่ใช้ของ สมุนไพรที่มีสรรพคุณแก้อาการของโรค นั้นๆ เป็นหลัก ปรับตามประสบการณ์ ก า ร รั กษ า แ ล ะ ค วา ม เชื่ อ เกี่ ย ว กั บ สรรพคุณของสมุนไพร หากเป็นการ รักษาโรคเริม จะมีการใช้คาถาเสกก่อน จะทาการพ่นยา และในขณะพ่นยา การประเมินผลหลังการรักษา เมื่อทาการรักษาผู้ป่วยแล้วหมอจะนัด ติดตามอาการ เช่น โรคเริม หมอจะนัด มาดูอาการหลังการพ่นยาสมุนไพรทุก วัน เป็นต้น ประเมินผลหลังการรักษาจะ ดูรอย โรคจากภายนอก ถ้าผู้ป่วยมี อาการดีขึ้นแต่ยังไม่หายก็จะให้การ รักษาด้วยยาตารับเดิม แต่หากผู้ป่วย อาการไม่ดีขึ้นหมอก็จะทาการเปลี่ยน ตารับยาและปรับขนาดยาพร้อมกับให้ คาแนะนาในการปฏิบัติตัวให้เหมาะสม จะนัดมาดูอาการทุกๆ 7 วันหลังการ รักษา และติดตามผลการรักษาตลอด ระยะเวลา 1 สัปดาห์หลังทาการรักษา หากผู้ป่วยอาการไม่ดีขึ้นหมอจะทาการ เปลี่ยนตารับยาใหม่ และให้คาแนะนา การใช้ยากับผู้ป่วยที่ต้องปฏิบัติหลังการ รักษา โดยรับประทานยาให้ตรงเวลา ข้อห้ามสาหรับผู้ป่วย ในผู้ป่วยโรคเริม ห้ามผู้ป่วยกินอาหารที่ แสลงกับโรคคือ ไข่ ข้าวเหนียวห่อกล้วย และห้ามตากฝนหรือให้น้าโดนบริเวณที่ เป็น เพราะจะทาให้อาการยิ่งทรุดมาก ขึ้น ห้ามรับป ระท านอาห าร แสลง เช่น หน่อไม้ ไก่ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าจากกระบวนการรักษาข้างต้นหมอพื้นบ้านที่มีความชานาญในการรักษาโรคมาหลายปีจะทาการซัก ประวัติอาการเพียงเล็กน้อย ประกอบกับการสังเกตอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยก็สามารถวินิจฉัยโรคได้ โดยไม่ต้องใช้ เครื่องมือหรือุปกรณ์ใดๆ นอกจากนี้หมอพื้นบ้านมีการใช้คาถาในขั้นตอนการรักษาโรค เป็นการมุ่งเน้นการรักษาทางด้านจิตใจ ของผู้ป่วยเพื่อเป็นการสร้างขวัญกาลังใจให้กับผู้ป่วย และสร้างความเชื่อมั่นในการรักษา สอดคล้องกับงานวิจัยของปิยนุช ยอด สมสวย [4] เรื่องการศึกษาภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในอาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ผลการศึกษาพบว่า ในรูปแบบการ รักษาของหมอพื้นบ้านมีทั้งการใช้ยาสมุนไพรและไสยศาสตร์ร่วมด้วย 3. ข้อมูลการใช้ตารับยาสมุนไพรของหมอพื้นบ้าน จากการสารวจพบการใช้ตารับยาสมุนไพรในการรักษาโรคของหมอจรูญ ชูจันทร์ จานวน 30 ตารับ และหมอสนิท ถาพร จานวน 4 ตารับ รวมเป็น 34 ตารับ แบ่งตารับยาตามประเภทของการใช้ยา ได้ดังนี้ ยาใช้ภายใน จานวน 30 ตารับ (ร้อยละ

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3