Proceeding2562

1634 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3 ช่วงที่ 1 สื่อถึงลายสือไทย ที่ปรากฏอยู่บนศิลาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคาแหง ซึ่งเป็น หลักฐานบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางด้านภาษาและเป็นต้นแบบของอักษรไทย มากว่า 700 ปี ช่วงที่ 2 สื่อถึงลักษณะลายเส้นของพยัญชนะลายสือไทยทั้ง 9 ตัว ที่พ่อขุนรามคาแหง ทรงคิดประดิษฐ์ขึ้นเพิ่มเติมจากอักษรต้นแบบ ช่วงที่ 3 สื่อถึงคุณค่าของลายสือไทยและความภาคภูมิใจของคนไทย ที่มีอารยะธรรม ทางด้านตัวอักษรเป็นของตนเองมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนที่ 3 ส่วนท้ายของระบา 4. กาหนดให้อยู่ในรูปแบบจารีตประเพณี ผู้สร้างสรรค์ได้กาหนดรูปแบบการแสดงให้อยู่ในรูปแบบของนาฏศิลป์ประเภทระบามีบทร้อง มีการใช้ท่ารา สื่อสารเรื่องราวตามบทร้อง และสร้างสรรค์ท่าราใหม่ มาประกอบสร้าง ให้เห็นเป็นลักษณะลายเส้นของพยัญชนะ ลายสือไทย 5. การกาหนดองค์ประกอบ 5.1 ผู้แสดง การแสดงชุด ลายสือไทย ใช้นักแสดงผู้หญิงล้วน จานวน 12 คน สื่อความหมายเป็นศิลาจารึก หลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคาแหง 5.2 การประพันธ์เพลง การออกแบบเพลงและดนตรีประกอบการแสดง ผู้สร้างสรรค์ได้กาหนดรูปแบบการแสดงในลักษณะ ของการราสื่อความหมายตามบทร้อง ได้ศึกษารูปแบบโครงสร้างดั้งเดิมของนาฏศิลป์ประเภทระบาทีมีบทร้อง เน้นการ ประพันธ์บทร้องให้สื่อสารเนื้อหาของการแสดง โดยใช้บทประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพที่สามารถนาไปบรรจุเพลงร้องได้ และการบรรจุเพลงจับระบาคั่นบทร้อง เน้นเพลงบรรเลงที่มีสาเนียงเพลงสมัยสุโขทัย เลือกใช้เพลงไทยที่มีอัตราจังหวะ สองชั้นและชั้นเดียว ใช้เพลงไทยที่มีอยู่เดิมและเพลงที่ประพันธ์ขึ้นใหม่ บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์เครื่องห้า ใช้ซอสามสาย และกระจับปี่บรรเลงผสมเพื่อให้ได้สาเนียงตามสมัยสุโขทัยและมีความนุ่มนวลของเสียงมากขึ้น จังหวะและทานองเพลง สื่อถึงความเจริญรุ่งเรือง ความชื่นชมยินดี และความภาคภูมิใจ ดังนี้ ส่วนที่ 1 ส่วนนาเริ่มต้นเข้าสู่ระบา ใช้เพลงพญาตรึก ส่วนที่ 2 ส่วนที่เป็นเนื้อหาของระบา แบ่งเนื้อหาการแสดงออกเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 สื่อถึงลายสือไทย ที่ปรากฏอยู่บนศิลาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคาแหง ซึ่งเป็น หลักฐานบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ทางด้านภาษาและเป็นต้นแบบของอักษรไทย มากว่า 700 ปี ใช้บทร้อง จานวน 2 บท ร้องด้วยเพลงสะสม ลายสือไทย ในหลัก ศิลาแลง พ่อขุนรามคาแหง แต่งขึ้นใหม่ เป็นหลักฐาน ประวัติศาสตร์ ของชาติไทย เจ็ดร้อยปี มีไว้ ในโลกา งามงอน อ่อนช้อย ร้อยเรียง ควรเคียง คู่ชาติ ศาสนา คือต้นแบบ อักษรไทย ใช้สืบมา คงคุณค่า ยิ่งใหญ่ ไปชั่วกาล ช่วงที่ 2 สื่อถึงลักษณะลายเส้นของพยัญชนะลายสือไทย ที่ปรากฏอยู่บนศิลาจารึก หลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคาแหง ใช้เพลงกราวลายสือไทย ซึ่งเป็นเพลงที่ประพันธ์ขึ้นใหม่

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3