สํ
าหรั
บชนิ
ดของผลผลิ
ตจากป่
าที่
ไม่
ใช่
เนื
้
อไม้
ในป่
าต้
นนํ
้
าบางเหรี
ยงมี
การใช้
ประโยชน์
จํ
านวน
rr
11
rr
ชนิ
ด
เมื่
อเปรี
ยบเที
ยบกั
บการศึ
กษาของ ประภาพรรณ (2545) ที่
ได้
ศึ
กษาการประเมิ
นคุ
ณค่
าทางเศรษฐศาสตร์
ของบาง
องค์
ประกอบของป่
าดิ
บชื
้
นจากป่
ากราด อํ
าเภอนาทวี
พบว่
ามี
การใช้
ประโยชน์
เพี
ยง
rr
7
rr
ชนิ
ด ได้
แก่
เนี
ยงนก ส้
มแขก
สะตอ นํ
้
าผึ
้
ง สมุ
นไพร หวายและหน่
อไม้
รวมทั
้
งการศึ
กษาของฉลวยรั
ตน์
(2549) ซึ
่
งได้
ศึ
กษาการใช้
ประโยชน์
ป่
า
ชุ
มชนบ้
านซํ
าผั
กหนาม อํ
าเภอชุ
มแพ จั
งหวั
ดขอนแก่
น พบว่
า ประเภทของป่
าที่
ชาวบ้
านเก็
บหามี
เพี
ยง
rr
7
rr
ประเภท
ได้
แก่
หน่
อไม้
ไม้
ฟื
น เห็
ด ผั
กป่
า ไข่
มดแดง พื
ชหั
ตถกรรม และแมลง นอกจากนี
้
การศึ
กษาของจุ
ฬาภรณ์
(2544) ซึ
่
ง
ได้
ศึ
กษาความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างปั
จจั
ยเศรษฐกิ
จสั
งคมกั
บการใช้
ประโยชน์
จากของป่
าของชุ
มชนรายรอบอุ
ทยานแห่
งชาติ
แม่
จริ
ม พบว่
า ประเภทของป่
าที่
ราษฎรเก็
บหามาใช้
ประโยชน์
มี
ทั
้
งหมดเพี
ยง 10 ประเภท ได้
แก่
สมุ
นไพร พื
ชผั
กป่
า
ผลไม้
ป่
า ไม้
ไผ่
หน่
อไม้
เห็
ด แมลงกิ
นได้
สั
ตว์
ป่
า ฝื
นและถ่
าน ซึ
่
งก็
มี
จํ
านวนชนิ
ดน้
อยกว่
าการศึ
กษาในครั
้
งนี
้
และ
งานของ Lelia (2007) ศึ
กษาการประเมิ
นมู
ลค่
าของผลผลิ
ตจากป่
าที่
ไม่
ใช่
เนื
้
อไม้
ในภู
มิ
ภาคเมดิ
เตอร์
เรเนี
ยน พบ ผลผลิ
ต
จากป่
าที่
ไม่
ใช้
เนื
้
อไม้
ชนิ
ดหลั
ก 6
rr
รายการเท่
านั
้
น ได้
แก่
ไม้
ฟื
น ไม้
ก๊
อก พื
ชอาหารสั
ตว์
เห็
ดกิ
นได้
นํ
้
าผึ
้
งและของป่
า
อื่
น ๆ แต่
ในงานวิ
จั
ยของ เสาวลั
กษณ์
และคณะ(2551) ที่
ศึ
กษาการเก็
บหาและการใช้
ประโยชน์
ของป่
าในป่
าเขาหั
วช้
าง
พบว่
า มี
ของป่
าที่
เก็
บหาเพื่
อการใช้
ประโยชน์
จํ
านวนมากถึ
ง 85 ชนิ
ด และงานวิ
จั
ยของวิ
สิ
ทธิ
์
ชั
ย (2544) ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างปั
จจั
ยเศรษฐกิ
จสั
งคมกั
บการใช้
ประโยชน์
จากของป่
าของชุ
มชนรอบรั
กษาพั
นธุ
์
สั
ตว์
ป่
าเขาสอยดาว พบว่
า มี
ครั
วเรื
อนเข้
าไปเก็
บหาของป่
ามากถึ
ง 12 ชนิ
ด ได้
แก่
ผลไม้
ป่
า พื
ชผั
กป่
า หน่
อไม้
ป่
า พื
ชสมุ
นไพร เห็
ดป่
า ไม้
ไผ่
ป่
า
หวาย แมลงกิ
นได้
สั
ตว์
ป่
า ฟื
นและถ่
าน
194
การประชุ
มวิ
ชาการระดั
บชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ ครั้
งที่
22 ประจำปี
2555