full2012.pdf - page 191

šœÎ
µ
ป่
าไม้
เป็
นแหล่
งทรั
พยากรธรรมชาติ
ที่
สํ
าคั
ญซึ
งเปรี
ยบประดุ
จดั่
ง “ห้
างสรรพสิ
นค้
าธรรมชาติ
” ที่
ผู
คนสามารถ
นํ
ามาใช้
ประโยชน์
สํ
าหรั
บแหล่
งปั
จจั
ยสี่
แหล่
งท่
องเที่
ยว สถานที่
พั
กผ่
อนหย่
อนใจ ตลอดจนของใช้
นานาชนิ
(กรมวิ
ชาการ, 2542) ล้
วนแล้
วแต่
ได้
มาจากป่
าทั
งสิ
น นอกจากนั
นป่
ายั
งทํ
าหน้
าที่
ป้
องกั
นภั
ยและรั
กษาความสมดุ
ลของ
ธรรมชาติ
(นิ
วั
ติ
, 2548) เป็
นที่
ประจั
กษ์
โดยทั่
วไปแล้
วว่
าทรั
พยากรป่
าไม้
มี
คุ
ณค่
ามากมายทั
งทางตรงและทางอ้
อมจึ
งมี
ความจํ
าเป็
นอย่
างยิ่
งที่
จะต้
องอนุ
รั
กษ์
ทรั
พยากรป่
าไม้
ยิ่
งมี
ประโยชน์
ยื
นยาวตลอดไป (นิ
วั
ติ
, 2546) ปั
จจุ
บั
นป่
าไม้
มี
จํ
านวนลดลงอย่
างต่
อเนื่
อง ซึ
งมี
สาเหตุ
พื
นฐานมาจากจํ
านวนประชากรที่
มากขึ
นและการขยายตั
วทางเศรษฐกิ
จจากเมื
อง
สู
ชนบท แต่
ในขณะเดี
ยวกั
นก็
เป็
นการตั
กตวงผลประโยชน์
จากป่
าเพี
ยงอย่
างเดี
ยวโดยไม่
หยุ
ดยั
ง (ชาติ
ชาย, 2544)
สํ
าหรั
บแนวคิ
ดทางเศรษฐศาสตร์
มองว่
าการลดลงของพื
นที่
ป่
าไม้
เกิ
ดจากการที่
ตลาดของสิ
นค้
าและบริ
การจากป่
าไม้
มี
ความบกพร่
องและป่
าไม้
มี
ลั
กษณะของสิ
นค้
าที่
เป็
นแบบสาธารณะ ทํ
าให้
การจั
ดการดู
แลป่
าไม้
ไม่
มี
ประสิ
ทธิ
ภาพในทาง
เศรษฐศาสตร์
(เสาวลั
กษณ์
, 2549) ดั
งนั
นการประเมิ
นมู
ลค่
าจึ
งเป็
นเครื่
องมื
ออย่
างหนึ
งในการผลิ
ตข้
อมู
ลเพื่
อสะท้
อนให้
เห็
นว่
าคนในสั
งคมให้
ความสํ
าคั
ญอย่
างไรกั
บสิ่
งแวดล้
อม (อดิ
ศร์
, 2541) เพื่
อนํ
าข้
อมู
ลนี
ไปใช้
ในการกํ
าหนดแนวทาง
พั
ฒนาที่
ไม่
สร้
างผลเสี
ยต่
อสิ่
งแวดล้
อมมากเกิ
นไป
ป่
าต้
นนํ
าบางเหรี
ยง เป็
นส่
วนหนึ
งของป่
าดิ
บชื
นเทื
อกเขาบรรทั
ด ที่
สภาพป่
ายั
งมี
ความอุ
ดมสมบู
รณ์
ซึ
งมี
ความสํ
าคั
ญต่
อการดํ
าเนิ
นวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวบ้
านตั
งแต่
อดี
ตจนถึ
งปั
จจุ
บั
น ชาวบ้
านรอบพื
นที่
ป่
าได้
รั
บประโยชน์
มากมายที่
พึ
งพาอาศั
ยจากป่
าต้
นนํ
าบางเหรี
ยง วิ
ถี
ชี
วิ
ตของชาวบ้
านที่
อาศั
ยอยู
รอบพื
นที่
ป่
าและบริ
เวณใกล้
เคี
ยงได้
ใช้
ประโยชน์
จาก
ป่
าเป็
นแหล่
งเก็
บหาของป่
า สมุ
นไพร เพื่
อใช้
บริ
โภคและเป็
นยารั
กษาโรค ไม้
ใช้
สอยและนํ
าไม้
มาสร้
างบ้
านเรื
อนที่
อยู
อาศั
ย ซึ
งสํ
าหรั
บในสายตาของชาวบ้
าน “ป่
า” ไม่
ได้
มี
ประโยชน์
เพี
ยงเนื
อไม้
มาใช้
สร้
างบ้
านเท่
านั
น แต่
ยั
งมี
ความสํ
าคั
ต่
อชุ
มชนในด้
านอื่
น ๆ ทั
งเป็
นแหล่
งต้
นนํ
าที่
ใช้
อุ
ปโภคบริ
โภค ความเชื่
อ รวมทั
งเป็
นแหล่
งพั
กผ่
อนหย่
อนใจของคนใน
ชุ
มชน สิ่
งที่
สํ
าคั
ญที่
สุ
ดคื
อ แหล่
งที่
สร้
างมั่
นคงทางด้
านอาหารของชาวบ้
าน จากการอาศั
ยพึ
งพิ
งป่
าทํ
าให้
ชาวบ้
านมี
อาหารเพี
ยงพอ การใช้
ผลผลิ
ตจากป่
าช่
วยลดค่
าใช้
จ่
ายในครอบครั
วลงได้
ซึ
งการจั
ดการป่
าจะมี
การจั
ดการตามวิ
ถี
ทาง
ของชาวบ้
านที่
เกิ
ดจากความรั
กความหวงแหน และการเป็
นเจ้
าของพื
นที่
ป่
า (สุ
วิ
ทย์
(สั
มภาษณ์
), 11 มกราคม 2553)
กล่
าวว่
า “ทรั
พยากรบ้
านเรา เราควรเห็
นความสํ
าคั
ญของทรั
พยากรและมี
การจั
ดการทรั
พยากรให้
ดี
เพื่
อเก็
บไว้
ให้
ลู
กหลานได้
ใช้
ในอนาคต” ผู
วิ
จั
ยจึ
งสนใจที่
จะศึ
กษาการใช้
ประโยชน์
จากป่
าต้
นนํ
าบางเหรี
ยง เพื
อทํ
าการประเมิ
นมู
ลค่
ทางเศรษฐศาสตร์
ของผลผลิ
ตจากป่
าที่
ไม่
ใช่
เนื
อไม้
ซึ
งผลการศึ
กษาสามารถเป็
นข้
อมู
ลสะท้
อนให้
เห็
นถึ
งประโยชน์
ที่
เกิ
ดขึ
นจากป่
าต้
นนํ
าบางเหรี
ยงที่
ทํ
าให้
ชุ
มชนได้
ตระหนั
กและใช้
เป็
นแนวทางในการจั
ดการทรั
พยากรป่
าไม้
ของชุ
มชน
เพื่
อนํ
าไปสู
การใช้
ประโยชน์
ที่
ยั
งยื
นต่
อไปในอนาคต
ª´
˜™»
ž¦³Š‡r
1. เพื่
อศึ
กษาลั
กษณะการใช้
ประโยชน์
ของผลผลิ
ตจากป่
าที่
ไม่
ใช่
เนื
อไม้
ในป่
าต้
นนํ
าบางเหรี
ยง ตํ
าบลเกาะเต่
อํ
าเภอป่
าพะยอม จั
งหวั
ดพั
ทลุ
2. เพื่
อประเมิ
นมู
ลค่
าทางเศรษฐศาสตร์
ของผลผลิ
ตจากป่
าที่
ไม่
ใช่
เนื
อไม้
ในป่
าต้
นนํ
าบางเหรี
ยง ตํ
าบลเกาะเต่
อํ
าเภอป่
าพะยอม จั
งหวั
ดพั
ทลุ
191
การประชุ
มวิ
ชาการระดั
บชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ ครั้
งที่
22 ประจำปี
2555
1...,181,182,183,184,185,186,187,188,189,190 192,193,194,195,196,197,198,199,200,201,...1917
Powered by FlippingBook