full2012.pdf - page 422

Ÿ¨„µ¦ª·
‹´
¥Â¨³°£·
ž¦µ¥Ÿ¨
หลั
งจากปรั
บปรุ
งระบบตามคํ
าแนะนํ
าของผู
เชี่
ยวชาญในครั
งแรก (เดื
อนเพ็
ญและคณะ, 2553) โดยทดสอบ
จากกลุ
มผู
ใช้
ระบบช่
วยจั
ดการรายรั
บรายจ่
ายบนพื
นฐานเศรษฐกิ
จพอเพี
ยงในเดื
อนกุ
มภาพั
นธ์
และเดื
อนพฤษภาคม
2554 จํ
านวน 11 คน ประกอบด้
วย ผู
เชี่
ยวชาญในการสอนคุ
ณธรรม จํ
านวน 3 คน และผู
ใช้
ระบบจํ
านวน 8 คน ผล
การประเมิ
นประสิ
ทธิ
ภาพของระบบที่
พั
ฒนาแล้
ว โดยกลุ
มผู
เชี่
ยวชาญด้
านการสอนคุ
ณธรรม ในการบั
นทึ
กการใช้
จ่
ายบนพื
นฐานเศรษฐกิ
จพอเพี
ยง จํ
านวน 3 คน สรุ
ปได้
ว่
าระบบ ฯ มี
ประสิ
ทธิ
ภาพโดยรวมอยู
ในระดั
บดี
มาก
(4.57) สํ
าหรั
บผลการประเมิ
นประสิ
ทธิ
ภาพของระบบที่
พั
ฒนาแล้
ว โดยกลุ
มผู
ใช้
8 คน สรุ
ปได้
ว่
าระบบ ฯ มี
ประสิ
ทธิ
ภาพโดยรวมอยู
ในระดั
บดี
(4.45) (เดื
อนเพ็
ญ และคณะ, 2555) จากผลการประเมิ
นประสิ
ทธิ
ภาพของ
ระบบฯ โดยผู
เชี
ยวชาญในการสอนคุ
ณธรรมพบว่
าสู
งกว่
าผู
ใช้
เนื
องจากในมุ
มมองของผู
ใช้
คิ
ดว่
าระบบย ั
สามารถได้
รั
บการปรั
บปรุ
งเพื่
อพั
ฒนาต่
อให้
ดี
ยิ
งขึ
นในอนาคต
¦»
žŸ¨„µ¦ª·
‹´
¥
ระบบช่
วยจั
ดการรายรั
บรายจ่
ายบนพื้
นฐานเศรษฐกิ
จพอเพี
ยงเป็
นแนวทางหนึ
งที่
สามารถสนั
บสนุ
หลั
กแนวคิ
ดของเศรษฐกิ
จพอเพี
ยง โดยระบบมี
ความสามารถในการทํ
างานดั
งนี
การบั
นทึ
กข้
อมู
ล คื
อการบั
นทึ
ข้
อมู
ลรายละเอี
ยดประจํ
าวั
น การวางแผนข้
อมู
ล คื
อการประมาณการรายรั
บ รายจ่
าย หรื
อเงิ
นออมรวมเป็
นรายเดื
อน
การสรุ
ป คื
อการสรุ
ปผลรวมต่
าง ๆ พร้
อมกราฟข้
อมู
ล ทั
งข้
อมู
ลประจํ
าวั
น และข้
อมู
ลการวางแผน แนะนํ
าการใช้
จ่
าย
คื
อการแสดงคํ
าแนะนํ
าการใช้
จ่
ายให้
แก่
ผู
ใช้
เพื่
อให้
เกิ
ดความระมั
ดระวั
งในการใช้
จ่
าย จั
ดเป็
นส่
วนหนึ
งของการสอน
คุ
ณธรรมในการใช้
จ่
าย แจ้
งเตื
อน คื
อการแสดงข้
อความเตื
อนต่
อผู
ใช้
ตามวั
นเวลาที่
ได้
ตั
งค่
าไว้
การค้
นหา คื
อการ
ค้
นหาข้
อมู
ลรายรั
บ รายจ่
าย เงิ
นออม ตามที่
ต้
องการ ตั
งค่
า คื
อการตั
งค่
าข้
อมู
ลต่
าง ๆ ซึ
งระบบมี
ความยื
ดหยุ
นในการ
ใช้
งานให้
ตั
งค่
าข้
อมู
ลต่
าง ๆ ได้
ตามที่
ต้
องการเช่
น ตั
งค่
าประเภทรายรั
บ รายจ่
าย ตั
งค่
าการให้
คํ
าแนะนํ
า ส่
งออก
ข้
อมู
ล คื
อการส่
งออกข้
อมู
ลรายรั
บ รายจ่
าย และเงิ
นออม ออกเป็
นไฟล์
.xls ซึ
งสามารถใช้
โปรแกรม Excel ในการ
เปิ
ดดู
ได้
จั
ดการข้
อมู
ลสมาชิ
ก คื
อการค้
นหาข้
อมู
ลสมาชิ
กเพื่
อทํ
าการแก้
ไข หรื
อลบข้
อมู
ลของสมาชิ
อย่
างไรก็
ตามระบบช่
วยจั
ดการรายรั
บรายจ่
ายบนพื
นฐานเศรษฐกิ
จพอเพี
ยงในงานวิ
จั
ยนี
จั
ดเป็
นระบบ
ต้
นแบบในการบั
นทึ
กรายรั
บรายจ่
ายร่
วมกั
บการเรี
ยนรู
เรื่
องคุ
ณธรรมในการใช้
จ่
ายที่
จะเกิ
ดขึ
นตามสถานการณ์
ในการใช้
จ่
ายในแต่
ละว ั
น เพื
อให้
ระบบมี
ประสิ
ทธิ
ภาพที
สู
งขึ
นในอนาคต จํ
าเป็
นต้
องมี
การทดสอบและ
ปรั
บปรุ
งแก้
ไขระบบให้
ดี
ขึ
นต่
อไปก่
อนนํ
ามาใช้
งานจริ
ง (เช่
น การเพิ
มข้
อมู
ลคํ
าแนะนํ
าที
เกี
ยวข้
องกั
บรายรั
และเงิ
นออม เนื
องจากคํ
าแนะนํ
าในขณะบั
นทึ
กข้
อมู
ลของระบบในปั
จจุ
บั
นมี
เฉพาะข้
อมู
ลที
เกี
ยวข้
องกั
รายจ่
าย ควรให้
ระบบสามารถแสดงข้
อความเตื
อนแก่
ผู
ใช้
ได้
ในขณะที
ทํ
ารายการปั
จจุ
บั
นที
ยั
งไม่
เสร็
จ โดย
อนุ
ญาตให้
ผู
ใช้
เปลี
ยนไปทํ
ารายการอื
น ๆ ได้
มี
การเปรี
ยบเที
ยบข้
อมู
ลสรุ
ปจํ
านวนเงิ
นของแต่
ละเดื
อนตามที่
ผู
ใช้
ต้
องการทราบ มี
คํ
าแนะนํ
าในขณะการใช้
งานระบบแบบโต้
ตอบ เมื่
อผู
ใช้
ใช้
งานไม่
ถู
กต้
อง การใช้
XML
มาช่
วยในการจั
ดการกั
บข้
อมู
ลจะทํ
าให้
ระบบมี
ความยื
ดหยุ
นมากขึ
น กํ
าหนดตั
วอย่
างประเภทกิ
จกรรม รายรั
รายจ่
าย การออมพื
นฐาน เพื
อให้
ผู
ใช้
กรอกข้
อมู
ลเพิ่
มเฉพาะข้
อมู
ลที่
จํ
าแนกบุ
คคลเท่
านั
น ระบบสามารถแสดง
ข้
อสรุ
ป ที
เป็
นคํ
าแนะนํ
า (เป็
นบทวิ
เคราะห์
สั
น) ให้
เห็
นแนวโน้
มรายรั
บ-จ่
าย นอกเหนื
อจากการแสดง
ตารางข้
อมู
ลและกราฟ) นอกจากนี
ระบบที
สามารถใช้
งานได้
จริ
งแล้
ว สามารถนํ
ามาใช้
กั
บครั
วเรื
อน หรื
สหกรณ์
ออมทรั
พย์
ต่
าง ๆ เพื่
อฝึ
กฝนให้
ผู
ใช้
มี
การใช้
จ่
ายอย่
างพอประมาณ มี
เหตุ
ผล และมี
ความพอเพี
ยง
422
การประชุ
มวิ
ชาการระดั
บชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ ครั้
งที่
22 ประจำปี
2555
1...,412,413,414,415,416,417,418,419,420,421 423,424,425,426,427,428,429,430,431,432,...1917
Powered by FlippingBook