full2012.pdf - page 60

šœÎ
µ
นํ
าทิ
งที่
ปนเปื
อนด้
วยสารประกอบไนโตรเจน เป็
นต้
นเหตุ
สํ
าคั
ญที่
ทํ
าให้
แหล่
งรองรั
บนํ
าทิ
งนั
นๆ เกิ
ปรากฏการณ์
ยู
โทรฟิ
เคชั
น (Eutrophication) หรื
อการที่
เกิ
ดพื
ชนํ
าและสาหร่
ายเจริ
ญเติ
บโตอย่
างมากมาย สาเหตุ
ส่
วนใหญ่
มาจากกิ
จกรรมต่
างๆ ของมนุ
ษย์
เช่
น ที่
อยู
อาศั
ยในแหล่
งชุ
มชน อุ
ตสาหกรรม เกษตรกรรม โดยเฉพาะการเพาะเลี
ยงสั
ตว์
นํ
าชายฝั่
ง ซึ
งเป็
นกิ
จกรรมที่
สร้
างมลพิ
ษแก่
แหล่
งนํ
าธรรมชาติ
เนื่
องจากมี
การปล่
อยนํ
าทิ
งที่
มี
การปนเปื
อนด้
วย
สารประกอบไนโตรเจน ส่
งผลกระทบต่
อคุ
ณภาพแหล่
งนํ
าธรรมชาติ
จึ
งมี
ความจํ
าเป็
นที่
ต้
องอาศั
ยวิ
ธี
การบํ
าบั
สารประกอบไนโตรเจนที่
เหมาะสม โดยทั่
วไปการบํ
าบั
ดสารประกอบไนโตรเจนที่
ใช้
ในระบบการเพาะเลี
ยงสั
ตว์
นํ
าใช้
วิ
ธี
การบํ
าบั
ดทางชี
วภาพ เป็
นวิ
ธี
ที่
ได้
รั
บความสนใจ เนื่
องจากมี
ต้
นทุ
นตํ
า และมี
ประสิ
ทธิ
ภาพสู
ง ซึ
งปั
จจุ
บั
นได้
มี
การ
พั
ฒนารู
ปแบบของระบบบํ
าบั
ดนํ
าทิ
งที่
มี
ประสิ
ทธิ
ภาพ คื
อ ระบบการเพาะเลี
ยงสั
ตว์
นํ
าแบบนํ
าหมุ
นเวี
ยน (Recirculation
aquaculture system; RAS)
งานวิ
จั
ยที่
ผ่
านมา นุ
กู
ล อิ
นทระสั
งขา (2553)
ได้
รายงานปั
ญหาที่
พบได้
บ่
อยจากการศึ
กษาระบบการเพาะเลี
ยง
สั
ตว์
นํ
าแบบหมุ
นเวี
ยน พบว่
า การสะสมปริ
มาณไนเตรทเพิ่
มขึ
นในระบบเนื่
องจาก
มี
ปั
จจั
ยบางประการทาง
สภาพแวดล้
อมที่
ส่
งผลต่
อการเจริ
ญเติ
บโตและคงสภาพของแบคที
เรี
ยดี
ไนตริ
ไฟอิ
ง ดั
งนั
นจึ
งมี
ความจํ
าเป็
นต้
องศึ
กษา
สภาวะที่
เหมาะสมในการบํ
าบั
ดไนเตรทในระบบการเพาะเลี
ยงสั
ตว์
นํ
าแบบนํ
าหมุ
นเวี
ยน Akhbari
et al.
(2001) ศึ
กษาการ
บํ
าบั
ดของคาร์
บอน ไนโตรเจน และฟอสฟอรั
ส ในนํ
าเสี
ยสั
งเคราะห์
ของระบบบํ
าบั
ดนํ
าเสี
ยแบบแผ่
นจานหมุ
นชี
วภาพ
(Rotating Biological Contactor, RBC) ด้
วยวิ
ธี
RSM และ วางแผนการทดลองแบบ CCD โดยกํ
าหนดให้
ตั
วแปรอิ
สระ
คื
อ ค่
าระยะเวลากั
กเก็
บ ปริ
มาณออกซิ
เจนทั
งหมด (COD) ค่
าอั
ตราการหมุ
นเวี
ยนภายใน (R) และความเร็
วรอบในการ
กวน พบว่
า สภาวะที่
เหมาะสม คื
อ ระยะเวลากั
กเก็
บ (HRT) เท่
ากั
บ 18, 18.7 ชั่
วโมง ความเร็
วรอบของการกวน 5, 15
รอบต่
อนาที
อั
ตราส่
วนของ COD : N : P เท่
ากั
บ 1000: 80:30 และ
ค่
า R
เท่
ากั
บ 2.5 สุ
รี
รั
ตน์
และคณะ (2551) ศึ
กษาผล
ของอั
ตราส่
วนอาหารต่
อจุ
ลิ
นทรี
ย์
(F/M ratio) ระยะเวลากั
กเก็
บ (HRT) และอั
ตราภาระบรรทุ
กสารอิ
นทรี
ย์
ต่
ประสิ
ทธิ
ภาพการบํ
าบั
ดนํ
าเสี
ยจากกระบวนการผลิ
ตนํ
ายางข้
นด้
วยระบบตะกอนเร่
ง ด้
วยวิ
ธี
RSM พบว่
า ระบบสามารถ
กํ
าจั
ด COD BOD
5
ปริ
มาณไนโตรเจน และปริ
มาณของแข็
งแขวนลอย ได้
ดี
ที่
ในสภาวะ F/M ratio 0.4 Day
-1
HRT 3 วั
และ OLR 0.5 kg BOD
5
/(m
3
.day)
งานวิ
จั
ยนี
มี
วั
ตถุ
ประสงค์
เพื่
อศึ
กษาความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างปั
จจั
ยของ
ค่
พี
เอชเริ่
มต้
น ความเข้
มข้
นของ
กรดอะซี
ติ
ก ความเข้
มข้
นของ Yeast Extract และค่
าความเร็
วรอบของการกวน ต่
อค่
าตอบสนองของเชื
อแบคที
เรี
ยที่
เกี่
ยวข้
องกั
บการบํ
าบั
ดไนเตรทหรื
อประสิ
ทธิ
ภาพของการบํ
าบั
ดไนเตรท โดยใช้
วิ
ธี
Response Surface Methodology
(RSM) หรื
อการออกแบบพื
นผิ
วตอบสนอง เป็
นเทคนิ
คทางสถิ
ติ
ในการตรวจสอบความพั
นธ์
ของตั
วแปรที่
สนใจ สามารถ
หาจุ
ดที่
เหมาะสม จากความสั
มพั
นธ์
เหล่
านั
นได้
ซึ
งตั
วแปรประกอบด้
วย ตั
วแปรต้
นหรื
อปั
จจั
ยเชิ
งปริ
มาณ เช่
น อุ
ณหภู
มิ
ความดั
น ส่
วนตั
วแปรตามหรื
อค่
าผลตอบสนอง คื
อ ค่
าคุ
ณภาพของผลิ
ตภั
ณฑ์
ที่
ต้
องการ ความสํ
าคั
ญของเทคนิ
ค RSM
สามารถอธิ
บายความสั
มพั
นธ์
ระหว่
าง ตั
วแปรต้
น กั
บค่
าตอบสนอง สามารถแสดงให้
เห็
นแนวโน้
มการเปลี่
ยนแปลงของ
ผลตอบสนอง เมื่
อระดั
บของปั
จจั
ยเชิ
งปริ
มาณเปลี่
ยนแปลง (อิ
ศรพงษ์
พงษ์
ศิ
ริ
กุ
ล. 2550) ผลการศึ
กษาที่
ได้
จะนํ
าไปใช้
ใน
การพั
ฒนาสู
ตรอาหารเลี
ยงเชื
อของการเพาะเลี
ยงแบคที
เรี
ยดี
ไนตริ
ไฟอิ
ง เพื่
อการนํ
ากล้
าเชื
อไปใช้
ในการเติ
มกั
บระบบ
RAS ที่
มี
การเพาะเลี
ยงปลานิ
ลแดง ซึ
งจะดํ
าเนิ
นการวิ
จั
ยในอนาคตเพื่
อเป็
นการแก้
ปั
ญหาในเรื่
องของปริ
มาณไนเตรท
สะสมต่
อไป
60
การประชุ
มวิ
ชาการระดั
บชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ ครั้
งที่
22 ประจำปี
2555
1...,50,51,52,53,54,55,56,57,58,59 61,62,63,64,65,66,67,68,69,70,...1917
Powered by FlippingBook