การประชุมวิชาการและผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 17 2550 - page 505

1
ความแปรผั
นทางพั
นธุ
กรรมของโทะในจั
งหวั
ดสงขลาและพั
ทลุ
งโดยเทคนิ
คอาร
เอพี
ดี
Genetic Variation of
Rhodomyrtus tomentosa
(Aiton) Hassk. in
Songkhla and Patthalung Province using RAPD Technique
อรุ
ณรั
ศมิ์
วณิ
ชชานนท
1*
และอมรรั
ตน
บุ
ญสิ
2
Arunrut Vanichanon
1*
and Amornrat Bunsin
2
บทคั
ดย
โทะ (
Rhodomyrtus tomentosa
(Aiton) Hassk.) เป
นพื
ชพื้
นเมื
องชนิ
ดหนึ่
งของภาคใต
ซึ่
งเป
นไม
พุ
ขนาดกลางสู
งประมาณ 2-3 เมตร ใบเป
นใบเดี่
ยวสองรู
ปแบบคื
อ รู
ปไข
กลั
บและรู
ปรี
ดอกสมบู
รณ
เพศชนิ
ดดอก
เดี่
ยวหรื
อดอกช
อแบบกระจุ
ก มี
กลี
บดอกสี
ชมพู
รู
ปไข
กลั
บหรื
อค
อนข
างกลม 5 หรื
อ 6 กลี
บ มี
เกสรเพศผู
จํ
านวน
มาก ผลเดี่
ยวมี
ลั
กษณะเป
นเนื้
อนุ
มและมี
หลายเมล็
ด เนื่
องจากดอกสวยงามจึ
งสามารถปลู
กเป
นไม
ประดั
บ อี
กทั้
สามารถใช
ประโยชน
จากผล รากและใบใช
ทํ
ายารั
กษาโรค ในอดี
ตโทะกระจายพั
นธุ
อย
างแพร
หลาย โดยเฉพาะ
บริ
เวณพื้
นที่
ดิ
นทราย พื้
นที่
ชายฝ
งทะเล แต
ในป
จจุ
บั
นโทะลดจํ
านวนลงเนื่
องจากการใช
ประโยชน
ที่
ดิ
นเพื่
กิ
จกรรมอื่
น อี
กทั้
งข
อมู
ลเกี่
ยวกั
บโทะมี
น
อยมาก ผู
วิ
จั
ยจึ
งติ
ดตามการกระจายพั
นธุ
ของโทะจากกลุ
มชุ
ดดิ
นที่
เหมาะสมในการเจริ
ญเติ
บโตของโทะ พบโทะกระจายพั
นธุ
ในกลุ
มชุ
ดดิ
น 17 25 34 39 ซึ่
งเป
นดิ
นร
วนปนทราย
และกลุ
มชุ
ดดิ
น 43 ซึ่
งมี
ลั
กษณะเป
นดิ
นเหนี
ยวหรื
อดิ
นร
วนที่
มี
กรวดหรื
อลู
กรั
งปะปนในปริ
มาณมาก พร
อมทั้
ศึ
กษาความแปรผั
นทางพั
นธุ
กรรมของโทะด
วยเทคนิ
คอาร
เอพี
ดี
25 ไพรเมอร
กั
บตั
วอย
างโทะ 10 แหล
ง และ 9
ไพรเมอร
(AA02 ,AA03, AA04, AA11, AA14, AA15, AA17, AA19 และ OPE11) ให
แถบ ดี
เอ็
นเอชั
ดเจน
จํ
านวน 67 แถบ เฉลี่
ย 7.4 แถบต
อไพรเมอร
ซึ่
งมี
ขนาดประมาณ 400 – 3,800 คู
เบส เป
นแถบดี
เอ็
นเอที่
ให
ความแตกต
าง (polymorphic) 54 แถบ (80.6%) และเป
นแถบดี
เอ็
นเอที่
เหมื
อนกั
น (monomorphic) 13 แถบ (19.4%)
เมื่
อนํ
าข
อมู
ลแถบดี
เอ็
นเอมาจั
ดกลุ
มความสั
มพั
นธ
ทางพั
นธุ
กรรมด
วยโปรแกรม PHYLIP สามารถแบ
งกลุ
มโทะ
ได
2 กลุ
ม คื
อกลุ
มจั
งหวั
ดสงขลาและจั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง ซึ่
งมี
ความสอดคล
องกั
บพื้
นที่
ภู
มิ
ศาสตร
ยกเว
นโทะในเขต
อํ
าเภอรั
ตภู
มิ
ของจั
งหวั
ดสงขลามี
ความใกล
ชิ
ดทางพั
นธุ
กรรมอยู
ในกลุ
มจั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง ส
วนโทะในเขตอํ
าเภอป
บอนในจั
งหวั
ดพั
ทลุ
งมี
ความใกล
ชิ
ดทางพั
นธุ
กรรมอยู
ในกลุ
มจั
งหวั
ดสงขลา อาจเนื่
องมาจากทั้
งสองอํ
าเภอเป
อํ
าเภอที่
อยู
ขอบเขตของแต
ละจั
งหวั
ดซึ่
งมี
อาณาเขตติ
ดกั
น จึ
งอาจมี
การกระจายพั
นธุ
ของโทะระหว
างสองอํ
าเภอนี้
ผลการศึ
กษาที่
กล
าวมาแสดงว
าโทะมี
ความหลากหลายทางพั
นธุ
กรรมสู
ง น
าจะเป
นประโยชน
ต
อการคั
ดเลื
อกพั
นธุ
โทะเพื่
อนํ
ามาเป
นไม
ประดั
บ และอนุ
รั
กษ
พื
ชพื้
นเมื
องชนิ
ดนี้
ต
อไป
คํ
าสํ
าคั
ญ :
โทะ ; ความแปรผั
นทางพั
นธุ
กรรม ; อาร
เอพี
ดี
__________________________________
1*
ภาควิ
ชาชี
ววิ
ทยา คณะวิ
ทยาศาสตร
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ อํ
าเภอเมื
อง จั
งหวั
ดสงขลา 90000
Department of Biology, Faculty of Science, Thaksin University, Songkhla, 90000 e-mail:
2
โรงเรี
ยนมั
ธยมวิ
ภาวดี
กิ่
งอํ
าเภอวิ
ภาวดี
จั
งหวั
ดสุ
ราษฏร
ธานี
84180
Matthayom Vipawadee School, Vipawadee, Suratthani, 84180
1...,495,496,497,498,499,500,501,502,503,504 506,507,508,509,510,511,512,513,514,515,...702
Powered by FlippingBook