full2012.pdf - page 513

2
บทนํ
ผลการสํ
ารวจสภาวะทั
นตสุ
ขภาพแห่
งชาติ
ของประเทศไทยในช่
วง 25 ปี
ทีÉ
ผ่
านมา พบว่
าฟั
นผุ
ในฟั
นแท้
เป็
ปั
ญหาสุ
ขภาพทีÉ
พบได้
บ่
อย และไม่
มี
แนวโน้
มทีÉ
จะลดลงแม้
ว่
าวิ
ทยาการทางการแพทย์
มี
ความก้
าวหน้
าขึ
Ê
น โดยฟั
นผุ
มี
ผลเสี
ยต่
อทั
Ê
งต่
อสุ
ขภาพร่
างกาย ความสวยงาม ทํ
าให้
เด็
กต้
องขาดเรี
ยน อี
กทั
Ê
งทํ
าให้
ต้
องสู
ญเสี
ยเงิ
นในการรั
กษาไปเป็
จํ
านวนมาก (Sawyer-Morse and Evans, 2004, กองทั
นตสาธารณสุ
ข กรมอนามั
ย, 2551)
จากการสํ
ารวจสภาวะทั
นต
สุ
ขภาพในปี
2553 พบว่
าเด็
กอายุ
12 ปี
ในจั
งหวั
ดอุ
ดรธานี
มี
ฟั
นผุ
ถึ
งร้
อยละ 44.2 ส่
วนในภาพรวมของประเทศเด็
กอายุ
12
ปี
มี
ฟั
นผุ
ร้
อยละ 48.2 (กองทั
นตสาธารณสุ
ข กรมอนามั
ย, 2553) โดยเด็
กกลุ่
มอายุ
9 - 12 ปี
เป็
นระยะทีÉ
เริÉ
มมี
ฟั
นแท้
ขึ
Ê
นครบ
มี
การผุ
เพิÉ
มขึ
Ê
นมากกว่
าเด็
กกลุ่
มอายุ
6 - 8 ปี
ถึ
งร้
อยละ 20 การผุ
ส่
วนใหญ่
พบในบริ
เวณฟั
นกรามแท้
ซีÉ
ทีÉ
1 บริ
เวณด้
านบด
เคี
Ê
ยว (กองทั
นตสาธารณสุ
ข กรมอนามั
ย, 2551) อย่
างไรก็
ดี
ผู
ป่
วยส่
วนใหญ่
จะแสวงหาการรั
กษาทางทั
นตกรรมเมืÉ
อฟั
นผุ
ลุ
กลามมากจนมี
อาการเสี
ยวฟั
นหรื
อปวดฟั
น ทํ
าให้
เด็
กอายุ
5 - 14 ปี
ถู
กถอนฟั
นเป็
นจํ
านวนมาก (สุ
ณี
วงศ์
คงคาเทพ,
2550)
ฟั
นผุ
เป็
นโรคทีÉ
สามารถป้
องกั
นได้
ดั
งนั
Ê
นในหลั
กสู
ตรการศึ
กษาขั
Ê
นพื
Ê
นฐานจึ
งมี
เนื
Ê
อหาเรืÉ
องฟั
นผุ
ทั
Ê
งลั
กษณะ
และการป้
องกั
นโรค อี
กทั
Ê
งกระทรวงสาธารณสุ
ขได้
จั
ดโครงการส่
งเสริ
มสุ
ขภาพในเด็
กวั
ยประถมศึ
กษา เพืÉ
อให้
นั
กเรี
ยน
ทุ
กคนได้
รั
บการตรวจสุ
ขภาพช่
องปากโดยบุ
คลากรสาธารณสุ
ขหรื
อครู
อย่
างน้
อยปี
ละ 1 ครั
Ê
งเพืÉ
อค้
นหาโรคฟั
นผุ
และโรค
ในช่
องปากเพืÉ
อส่
งต่
อเข้
ารั
บการรั
กษาก่
อนทีÉ
โรคจะลุ
กลามจนทํ
าให้
สู
ญเสี
ยฟั
นแท้
(กองทั
นตสาธารณสุ
ข กรมอนามั
ย,
2547) อย่
างไรก็
ดี
พบว่
าโครงการไม่
สามารถบรรลุ
ตามวั
ตถุ
ประสงค์
(กองทั
นตสาธารณสุ
ข กรมอนามั
ย, 2548) เนืÉ
องจาก
ขาดแคลนทั
นตบุ
คลากร และครู
ไม่
สามารถตรวจฟั
นได้
เนืÉ
องจากมี
ภาระงานสอนมาก (เพ็
ญแข ลาภยิÉ
ง, 2537, สมพร ทอง
ธวั
ช, 2538) ดั
งนั
Ê
นครู
และทั
นตบุ
คลากรจึ
งให้
นั
กเรี
ยนตรวจฟั
นด้
วยตนเอง โดยยั
งไม่
มี
การทดสอบว่
าว่
านั
กเรี
ยนชั
Ê
ประถมศึ
กษาปี
ทีÉ
6 มี
ความสามารถในการตรวจฟั
นด้
วยตนเอง และความรู
เรืÉ
องฟั
นเพี
ยงพอหรื
อไม่
การศึ
กษานี
Ê
มี
วั
ตถุ
ประสงค์
เพืÉ
อศึ
กษาความรู
เกีÉ
ยวกั
บฟั
และความสามารถในการตรวจฟั
นด้
วยตนเองของ
นั
กเรี
ยนชั
Ê
นประถมศึ
กษาปี
ทีÉ
6 กลุ่
มหนึ
É
วิ
ธี
การวิ
จั
การศึ
กษานี
Ê
เป็
นการวิ
จั
ยเชิ
งพรรณนา ในนั
กเรี
ยนทั
Ê
งหมดของชั
Ê
นประถมศึ
กษาปี
ทีÉ
6 โรงเรี
ยนบ้
านหมากแข้
จั
งหวั
ดอุ
ดรธานี
ทีÉ
มี
ฟั
นแท้
ตั
Ê
งแต่
ฟั
นตั
ด ฟั
นเขี
Ê
ยว ฟั
นกรามน้
อย และฟั
นกรามซีÉ
ทีÉ
1 ขึ
Ê
นเต็
มซีÉ
ครบ 24 ซีÉ
ทีÉ
มี
ความสมั
ครใจ
เข้
าร่
วมการศึ
กษาและได้
รั
บคํ
ายิ
นยอมจากผู
ปกครองเป็
นลายลั
กษณ์
อั
กษรจํ
านวน 83 คน การศึ
กษานี
Ê
ได้
รั
บอนุ
ญาตจาก
คณะกรรมการจริ
ยธรรมการวิ
จั
ยในมนุ
ษย์
คณะทั
นตแพทยศาสตร์
จุ
ฬาลงกรณ์
มหาวิ
ทยาลั
ย เลขทีÉ
22/2010 นั
กเรี
ยนเข้
รั
บการทดสอบความรู
เกีÉ
ยวกั
บฟั
นโดยใช้
แบบทดสอบประกอบด้
วยคํ
าถามจํ
านวน 10 ข้
อซึ
É
งเป็
นรู
ปภาพแสดงฟั
นผุ
และ
ฟั
นทีÉ
ไม่
ผุ
(ประกอบด้
วยภาพฟั
นทีÉ
ไม่
ผุ
ฟั
นทีÉ
เคลื
อบหลุ
มร่
องฟั
นสี
ขาว และฟั
นทีÉ
ได้
รั
บการบู
รณะด้
วยอมั
ลกั
ม) จาก
โทรทั
ศน์
ขนาด 40 นิÊ
ว โดยใช้
โปรแกรมไมโครซอฟท์
ออฟฟิ
สพาวเวอร์
พอยท์
เวอร์
ชั
น 2003 (Microsoft office power
point version 2003) ข้
อทีÉ
ถู
กจะได้
1 คะแนน โดยคํ
าตอบมี
4 ตั
วเลื
อก คื
อ ฟั
นไม่
ผุ
ฟั
นผุ
ฟั
นทีÉ
อุ
ด และไม่
แน่
ใจ ใช้
เวลาใน
การทดสอบ 10 นาที
นั
กเรี
ยนต้
องตอบคํ
าถามครบทุ
กข้
อ คํ
าถามทีÉ
นํ
ามาใช้
ในแบบทดสอบจํ
านวน 6 ข้
อนํ
ามาจาก
การศึ
กษาของอนุ
รดี
ศิ
ริ
พานิ
ชกรและพรพรรณ อั
ศวาณิ
ชย์
(Siripanichkorn and Asvanit, 2011) แล้
วเพิÉ
มเติ
มอี
ก 4 ข้
อใน
ประเด็
นทีÉ
การศึ
กษาเดิ
มพบว่
านั
กเรี
ยนตอบแบบทดสอบก่
อนการดู
สืÉ
อได้
ถู
กต้
องน้
อยกว่
าร้
อยละ 50 โดยแบบทดสอบ
ความรู
เกีÉ
ยวกั
บฟั
นมี
ค่
าความสมเหตุ
สมผล เท่
ากั
บ 0.9 ค่
าความเชืÉ
อถื
อได้
เท่
ากั
บ 0.7
513
การประชุ
มวิ
ชาการระดั
บชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ ครั้
งที่
22 ประจำปี
2555
1...,503,504,505,506,507,508,509,510,511,512 514,515,516,517,518,519,520,521,522,523,...1917
Powered by FlippingBook