Î
µ
วิ
กฤตการณ์
พลั
งงานเป็
นปั
ญหาเร่
งด่
วนที่
ต้
องแก้
ไข และหามาตรการป้
องกั
น เนื่
องจากประเทศไทย มี
ทรั
พยากร
พลั
งงาน เช่
น นํ
้
ามั
นและก๊
าซธรรมชาติ
น้
อย จึ
งจํ
าเป็
นต้
องพึ
่
งพาประเทศอื่
นๆ ที่
สามารถส่
งออกพลั
งงาน ส่
งผลให้
ขาดความ
มั่
นคงทางด้
านพลั
งงาน ไฮโดรเจนเป็
นพลั
งงานสะอาด กระบวนการเผาไหม้
ก๊
าซไฮโดรเจนได้
นํ
้
าเป็
นผลิ
ตภั
ณฑ์
จึ
งไม่
ก่
อให้
เกิ
ดมลพิ
ษต่
อสิ่
งแวดล้
อม (Yokoi
et al
., 2002) ไฮโดรเจนให้
พลั
งงานสู
ง โดย 1 กิ
โลกรั
มของไฮโดรเจนให้
พลั
งงาน
เท่
ากั
บ 3.5 ลิ
ตรของปิ
โตรเลี
ยม (Kruse
et al
., 2002) O-Thong และคณะ (2007) ได้
ศึ
กษาความเป็
นไปได้
ในการใช้
นํ
้
าทิ
้
ง
โรงงานสกั
ดนํ
้
ามั
นปาล์
มดิ
บเป็
นสั
บสเตรทสํ
าหรั
บกระบวนการผลิ
ตไฮโดรเจนด้
วยกระบวนการหมั
กแบบไร้
อากาศอุ
ณหภู
มิ
สู
ง พบว่
ามี
ความเป็
นไปได้
และให้
ผลผลิ
ตไฮโดรเจนสู
งถึ
ง 9.1 ลิ
ตรไฮโดรเจนต่
อลิ
ตรถั
งปฏิ
กรณ์
ต่
อวั
น ผลได้
ไฮโดรเจน
สู
งสุ
ดเท่
ากั
บ 2.21 โมลไฮโดรเจนต่
อโมลนํ
้
าตาลเฮกโซส และอั
ตราการผลิ
ตไฮโดรเจนที่
17 มิ
ลลิ
โมลต่
อลิ
ตรถั
งปฏิ
กรณ์
ต่
อ
ชั่
วโมง นอกจากนี
้
O-Thong และคณะได้
แยกเชื
้
อจุ
ลิ
นทรี
ย์
ที่
มี
ความสามารถสู
งในการผลิ
ตไฮโดรเจนจากตะกอนจุ
ลิ
นทรี
ย์
ใน
ระบบโดยให้
ชื่
อว่
า
Thermoanaerobacterium thermosaccharolyticum
PSU-2 ที่
มี
ความสามารถผลิ
ตไฮโดรเจนจากนํ
้
าทิ
้
ง
โรงงานสกั
ดนํ
้
ามั
นปาล์
มได้
สู
งถึ
ง 2.7 โมลไฮโดรเจนต่
อโมล เฮกโซส (O-Thong
et al
., 2008)
การผลิ
ตไฮโดรเจนโดยกระบวนการหมั
กไร้
อากาศจุ
ลิ
นทรี
ย์
เปลี่
ยนวั
ตถุ
ดิ
บมวลชี
วภาพไปเป็
นไฮโดรเจนซึ
่
งเป็
น
สารผลิ
ตภั
ณฑ์
หลั
กได้
เพี
ยงร้
อยละ 33 และในขณะเดี
ยวกั
นก็
เกิ
ดผลพลอยได้
เป็
นกรดอิ
นทรี
ย์
ระเหยง่
าย อย่
างเช่
น กรดอะซิ
ติ
ก กรดบิ
วทิ
ริ
ก (สมการที่
1 และ 2) สะสมอยู
่
ในนํ
้
าหมั
กประมาณร้
อยละ 77 ของสารอิ
นทรี
ย์
เริ่
มต้
น ทํ
าให้
นํ
้
าหมั
กมี
ค่
า COD
สู
ง ไม่
สามารถปล่
อยสู
่
สิ่
งแวดล้
อมได้
โดยตรงเนื่
องจากอาจก่
อให้
เกิ
ดปั
ญหามลพิ
ษในสิ่
งแวดล้
อมตามมา ด้
วยเหตุ
นี
้
จึ
งมี
ความ
จํ
าเป็
นที่
จะต้
องหาวิ
ธี
ลดและกํ
าจั
ดก่
อนทิ
้
งนํ
้
าเสี
ยจากระบบออกสู
่
สิ่
งแวดล้
อมของโรงงานนํ
้
ามั
นปาล์
ม ซึ
่
งรายงานวิ
จั
ยที่
มี
อยู
่
ก่
อนหน้
านี
้
พบว่
ากลุ่
มจุ
ลิ
นทรี
ย์
ที่
มี
ความสามารถในการผลิ
ตมี
เทนในสภาวะไร้
อากาศ สามารถใช้
กรดไขมั
นระเหยง่
ายที่
ความเข้
มข้
นสู
ง (5-10 กรั
มต่
อลิ
ตร) เป็
นสั
บสเตรทได้
ทํ
าให้
สารอิ
นทรี
ย์
(COD) ในนํ
้
าเสี
ยลดลงสู
งถึ
งร้
อยละ 88-100 (Nishio
and Nakashimada, 2000)
C
6
H
12
O
6
+ 2H
2
O
2CH
3
COOH + 4H
2
+ 2CO
2
(สมการที่
1)
C
6
H
12
O
6
+ 2H
2
O
C
3
H
6
COOH + 2H
2
+ 2CO
2
(สมการที่
2)
ดั
งนั
้
นงานวิ
จั
ยนี
้
จึ
งมี
ความสนใจที่
จะศึ
กษาการผลิ
ตมี
เทนจากนํ
้
าทิ
้
งหลั
งการผลิ
ตไฮโดรเจนที่
อุ
ณหภู
มิ
สู
งด้
วยกลุ่
ม
เชื
้
อ Thermoanaerobacterium จากนํ
้
าทิ
้
งโรงงานสกั
ดนํ
้
ามั
นปาล์
มดิ
บ โดยศึ
กษาองค์
ประกอบของนํ
้
าทิ
้
งโรงงานสกั
ดนํ
้
ามั
น
ปาล์
มดิ
บ และนํ
้
าทิ
้
งหลั
งการผลิ
ตไฮโดรเจน ศึ
กษาศั
กยภาพในการผลิ
ตมี
เทนจากนํ
้
าทิ
้
งหลั
งกระบวนการผลิ
ตไฮโดรเจน และ
ผลของอุ
ณหภู
มิ
และภาระบรรทุ
กสารอิ
นทรี
ย์
เริ่
มต้
นต่
อการผลิ
ตมี
เทนจากนํ
้
าทิ
้
งหลั
งการผลิ
ตไฮโดรเจน และผลิ
ตมี
เทนจาก
นํ
้
าทิ
้
งการผลิ
ตไฮโดรเจนที่
อุ
ณหภู
มิ
ห้
อง (28-33 องศาเซลเซี
ยส) และ อุ
ณหภู
มิ
สู
ง (60 องศาเซลเซี
ยส) ในระบบผลิ
ตมี
เทน
แบบต่
อเนื่
อง
ª·
¸
µ¦ª·
´
¥
1. «¹
¬µ°r
¦³°
°Î
Ê
µ·
Ê
®¨´
¦³ªµ¦¨·
űæÁ
นํ
้
าทิ
้
งโรงงานสกั
ดนํ
้
ามั
นปาล์
มดิ
บ และนํ
้
าทิ
้
งหลั
งการผลิ
ตไฮโดรเจนจากนํ
้
าทิ
้
งโรงงานสกั
ดนํ
้
ามั
นปาล์
ม ที่
อุ
ณหภู
มิ
สู
งด้
วยกลุ่
มเชื
้
อ Thermoanaerobacterium ได้
รั
บจากการทดลองของ นางสาวสุ
วริ
น เส็
นบั
ตร ซึ
่
งได้
ทดลองผลิ
ตไฮโดรเจนที่
119
การประชุ
มวิ
ชาการระดั
บชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ ครั้
งที่
22 ประจำปี
2555