8
ในกรณี
ประโยคคํ
าถามปลายป
ด และหน
วยคํ
า -tah ซึ่
งนิ
ยมวางข
างหลั
งคํ
าถาม ใช
ในกรณี
ถามความสงสั
ยของคนอื่
นหรื
อ
ผู
สื่
อสารเอง
1.7 ภาษามลายู
เป
นภาษาที่
ไม
มี
ระบบเสี
ยงวรรณยุ
กต
(monotone) ดั
งนั้
น หมวดคํ
าเกี่
ยวกั
บการ
กํ
าหนดเสี
ยงในภาษามลายู
มาตรฐานจึ
งไม
มี
การจํ
าแนกในภาษานี้
สํ
าหรั
บการฝ
กฝนและการใช
ภาษามลายู
มาตรฐานจึ
ง
เป
นเรื่
องง
ายต
อผู
เรี
ยนที่
ไม
มี
พื้
นฐานมาก
อน โดยที่
ผู
เรี
ยนไม
ต
องกั
งวลเรื่
องวรรณยุ
กต
ที่
อาจทํ
าให
ความหมายของคํ
า
ผิ
ดเพี้
ยนไป
2. ประเด็
นโครงสร
างวลี
มี
ข
อแตกต
างบางประการที่
ควรอภิ
ปรายดั
งนี้
2.1 นามวลี
ในภาษามลายู
มาตรฐานมี
หน
าที่
เป
นโครงสร
างประโยคในตํ
าแหน
ง ประธาน ภาคแสดง
(ที่
ไม
มี
กริ
ยา) กรรม และ ส
วนขยาย ซึ่
งมี
โครงสร
างที่
ไม
ต
างกั
บภาษาไทยมาตรฐานมากนั
ก ดั
งนั้
น การใช
ภาษามลายู
มาตรฐานสํ
าหรั
บผู
เรี
ยนที่
ไม
มี
พื้
นฐานภาษามลายู
สามารถนํ
าคํ
านามหรื
อเรี
ยงคํ
าจํ
าพวกคํ
านามมาวางในตํ
าแหน
งดั
งกล
าว
ได
ทั
นที
อย
างไรก็
ตามสิ่
งที่
ควรสั
งเกตของนามวลี
ในภาษามลายู
มาตรฐาน คื
อ นามวลี
ทั้
งหมดที่
ปรากฏในตํ
าแหน
งใดก็
ตามจะเป
นวลี
ที่
เกิ
ดจากการเรี
ยงคํ
าของคํ
าประเภทคํ
านามทั้
งสิ้
น นามวลี
บางวลี
หากเปรี
ยบเที
ยบความหมายในภาษาไทย
มั
กจะมี
คํ
ากริ
ยา vเป
นw หรื
อ vของw อยู
เสมอ ซึ่
งข
อต
างลั
กษณะนี้
ไม
ถื
อว
าเป
นป
ญหาที่
สํ
าคั
ญด
วย เช
น นามวลี
ในประโยค
ต
อไปนี้
ภาษามลายู
มาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐาน
Kakak (-) saya memilih yang merah itu.
พี่
สาว(ของ)ฉั
น เลื
อก สี
แดง นั้
น
>kaka
!
saya m
ԥ
milih ya
ƾ
merah
!
itu@
>phi
2
sa:u
4
(kh
n
:
ƾ
4
) chan
4
l
a:k
2
si:
4
d
'
:
ƾ
nan
3
@
นอกจากนี้
ประโยคบางประโยคในภาษามลายู
มาตรฐาน พบว
ามี
เพี
ยงนามวลี
อย
างเดี
ยวที่
ปรากฏในตํ
าแหน
ง
ต
าง ๆ ซึ่
งประกอบเข
าด
วยกั
นเป
นประโยค แต
ในภาษาไทยมาตรฐานการสร
างประโยคโดยปราศจากคํ
ากริ
ยาจะถื
อว
าเป
น
ประโยคที่
ไม
สมบู
รณ
ดั
งนั้
น การวางตํ
าแหน
งของนามวลี
ในโครงสร
างประโยคภาษามลายู
มาตรฐาน นั
บว
าเป
นวิ
ธี
การที่
ง
ายต
อการนํ
าไปใช
และเรี
ยนรู
ภาษานี้
สั
งเกตนามวลี
ที่
ขี
ดเส
นใต
ดั
งตั
วอย
างต
อไปนี้
ภาษามลายู
มาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐาน
Bapa saya guru sekolah agama
พ
อ(ของ)ฉั
น (เป
น) ครู
โรงเรี
ยนศาสนา
>bapa saya guru s
ԥ
kolah
!
agama@
>ph
n
:
2
(kh
n
:
ƾ
4
) chan
2
(pen) khru: ro:
ƾ
ri:an sassa
!
na:
4
@
2.2 กริ
ยาวลี
ในภาษามลายู
มาตรฐานมั
กจะไม
ปรากฏคํ
ากริ
ยาอื่
นอี
กตามหลั
งส
วนขยายของกริ
ยานั้
นๆ
นอกเสี
ยจากจะต
องมี
คํ
าบุ
พบทหรื
อคํ
าเชื่
อมเพื่
อขยายกริ
ยาวลี
ให
เป
นวลี
ที่
ยาวขึ้
น ในขณะที่
กริ
ยาวลี
ในภาษาไทยมาตรฐาน
พบว
าในบางกริ
ยาวลี
ยั
งมี
คํ
ากริ
ยาอื่
นอี
ก เพื่
อขยายให
กริ
ยาวลี
หลั
กนั้
นสมบู
รณ
สั
งเกตตั
วอย
างต
อไปนี้
ภาษามลายู
มาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐาน
Tolong belikan saya seekor ayam.
กรุ
ณา ซื้
อไก
ให
ฉั
นหนึ่
งตั
ว
>tolo
ƾ
b
ԥ
likan saya s
ԥ
ekor
!
ayam@
>karuna: s
:
3
kai
1
hai
2
chan
4
n
ƾ
1
tua@
2.3 กริ
ยาวลี
ที่
ทํ
าหน
าเป
นหน
วยกริ
ยากรรมวาจกนั
บเป
นกริ
ยาวลี
ที่
มั
กนิ
ยมใช
กั
นบ
อยมากในภาษา
มลายู
มาตรฐาน ทั้
งนี้
หากเที
ยบกั
บภาษาไทยมาตรฐาน พบว
ามั
กนิ
ยมใช
กริ
ยาวลี
ประเภทกริ
ยากรรตุ
วาจกเสี
ยส
วนใหญ
ข
อสั
งเกตสํ
าหรั
บการใช
วลี
ชนิ
ดนี้
ในภาษามลายู
มาตรฐาน คื
อ กริ
ยาที่
จะผั
นรู
ปเป
นกริ
ยากรรมวาจกนั้
นต
องเป
นกริ
ยา
สกรรมเสมอ หากเป
นกริ
ยาอกรรม ต
องแปลงรู
ปให
เป
นกริ
ยาสกรรมเสี
ยก
อน ดั
งที่
กล
าวมาแล
วในการจํ
าแนกหมวดคํ
า
799
การประชุ
มวิ
ชาการระดั
บชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ ครั้
งที่
22 ประจำปี
2555