¨
°µ¦ªÂÅ¥n
°ªµ¤ªÄ¦³¥³¨°
Effect of Thai Traditional Massage on Labor Pain
สลิ
ตตา อิ
นทร์
แก้
ว
1*
ศศิ
ธร พุ
มดวง
2
และ ฐิ
ติ
พร อิ
งคถาวรวงศ์
3
Salitta Inkaew
1
Sasitorn Phumdoung
2
and Thitiporn Ingkathawornwong
3
´
¥n
°
การวิ
จั
ยครั
้
งนี
้
เป็
นการวิ
จั
ยเชิ
งทดลอง มี
วั
ตถุ
ประสงค์
เพื่
อศึ
กษาผลของการนวดแผนไทยต่
อความปวดในระยะ
คลอด กลุ
่
มตั
วอย่
างเป็
นมารดาครรภ์
แรก และมี
คุ
ณสมบั
ติ
ตามที่
กํ
าหนด จํ
านวน 40 ราย โดยแบ่
งเป็
นกลุ
่
มทดลอง 20 ราย
ซึ
่
งจะได้
รั
บการนวดแผนไทยเมื่
อเข้
าสู
่
ระยะปากมดลู
กเปิ
ดเร็
ว (active phase) นวดครั
้
งละ 30 นาที
จํ
านวน 2 ครั
้
ง ห่
างกั
น
30 นาที
และกลุ
่
มควบคุ
ม 20 ราย ได้
รั
บการพยาบาลตามปกติ
เครื่
องมื
อที่
ใช้
ในการวิ
จั
ย คื
อ (ก) การนวดแผนไทย (ข)
แบบบั
นทึ
ก ประกอบด้
วยข้
อมู
ลส่
วนบุ
คคล ข้
อมู
ลเกี่
ยวกั
บการตั
้
งครรภ์
ข้
อมู
ลเกี่
ยวกั
บการนวดแผนไทย ข้
อมู
ลเกี่
ยวกั
บ
การคลอด ข้
อมู
ลเกี่
ยวกั
บทารก และ (ค) แบบประเมิ
นความปวดด้
วยสายตา (100 mm Visual analog scales: VAS) ผล
การศึ
กษาพบว่
า ผู
้
คลอดที่
ได้
รั
บการนวดแผนไทยมี
ความปวดทางกายน้
อยกว่
าผู
้
คลอดที่
ไม่
ได้
รั
บการนวดแผนไทยอย่
างมี
นั
ยสํ
าคั
ญทางสถิ
ติ
(F
1.37
= 27.36, p < .001 , effect size = .43, power = .999) และมี
ความตึ
งเครี
ยดจากการปวดทางกาย
น้
อยกว่
าผู
้
คลอดที่
ไม่
ได้
รั
บการนวดแผนไทยอย่
างมี
นั
ยสํ
าคั
ญทางสถิ
ติ
(F
1, 37
= 44.32, p < .001, effect size = .55, power =
1.000) ดั
งนั
้
นจึ
งควรนํ
าการนวดแผนไทยไปใช้
ลดปวดแก่
มารดาในระยะคลอด
Î
µÎ
µ´
: การนวดแผนไทย ความปวด ความตึ
งเครี
ยด
Abstract
This randomized control trail study aimed to examine effect of Thai traditional massage on labor pain. The
samples were 40 primigravidarum pregnant women who were purposively selected following the research criteria.
The samples were divided equally into two groups. Twenty pregnant women who in the experimental group were
given the Thai traditional massage for 30 minutes with two times and 30 minutes far apart in the active phase. Other
20 pregnant women were in the control group were received standard care being practiced in labor unit. The research
instruments included (a) Thai traditional massage (b) the form of demoghaphic data, pregnant data, Thai traditional
massage data, set of birth data, neonatal data, and (c)
100 mm visual analogue scales (VAS) were used to measures
sensation and distress of pain. The results showed that the pregnant women receiving the Thai traditional massage had
less sensation of pain than the pregnant women in the control group significantly (F
1.37
= 27.36, p < .001, effect size =
.43, power = .999) and less distress of pain than the pregnant women in the control group significantly (F
1, 37
= 44.32,
p < .001, effect size = .55, power = 1.000).
Therefore, the Thai traditional massage can
be utilized to lower pain for
women during labor.
Keyword
: Thai traditional Massage, sensation of pain, distress of pain
1
นั
กศึ
กษาปริ
ญญาโท สาขาผดุ
งครรภ์
ขั
้
นสู
ง คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิ
ทยาลั
ยสงขลานคริ
นทร์
สงขลา 90110
2
รศ.ดร. ภาควิ
ชาการพยาบาลสู
ติ
-นรี
เวชและผดุ
งครรภ์
คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิ
ทยาลั
ยสงขลานคริ
นทร์
สงขลา 90110
3
รศ. ภาควิ
ชาการพยาบาลสู
ติ
-นรี
เวชและผดุ
งครรภ์
คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิ
ทยาลั
ยสงขลานคริ
นทร์
สงขลา 90110
*
Corresponding:
543
การประชุ
มวิ
ชาการระดั
บชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ ครั้
งที่
22 ประจำปี
2555