เอกสารการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ครั้งที่ 21 / 2554 (Oral) - page 75

12
ใช้
ความเป็
นไทยในการประกอบการร้
านอาหารไทยฮาลาลในประเทศมาเลเซี
ย ธุ
รกิ
จร้
านต้
มยาในประเทศมาเลเซี
ยจึ
เป็
นตั
วแปรที่
สาคั
ใที่
มี
ต่
อการย้
ายถิ่
นของคนไทยเชื
อสายมลายู
เข้
าไปทางานในประเทศมาเลเซี
ยเนื่
องจากเครื
อข่
ายการ
ย้
ายถิ่
นมี
บทบาทที่
หลากหลายในการสนั
บสนุ
นและส่
งเสริ
มการย้
ายถิ่
น ทั
งก่
อนการย้
ายถิ่
น ระหว่
างการย้
ายถิ่
น และหลั
การย้
ายถิ่
น รวมถึ
งมี
บทบาทในวิ
ถี
ชี
วิ
ตประจาวั
นของแรงงานคนไทยเชื
อสายมลายู
ในประเทศมาเลเซี
ย เครื
อข่
ายการย้
าย
ถิ่
นของแรงงานคนไทยเชื
อสายมลายู
ที่
ทางานในร้
านต้
มยาในประเทศมาเลเซี
ยสามารถอธิ
บายสาเหตุ
ของการที่
มี
การย้
าย
ถิ่
นข้
ามพรมแดนไทย-มาเลเซี
ยที่
เกิ
ดขึ
นอย่
างต่
อเนื่
อง และไม่
มี
ที่
สิ้
นสุ
ด เพราะการมี
เครื
อข่
ายการย้
ายถิ่
นเป็
นกลไกที่
มี
คุ
ณค่
าต่
อกระบวนการย้
ายถิ่
นข้
ามพรมแดนไทย-มาเลเซี
ย และมี
บทบาทสาคั
ใหลากหลายต่
อกระบวนการย้
ายถิ่
น ถ้
ปราศจากเครื
อข่
ายการย้
ายถิ่
นแรงงานคนไทยเชื
อสายมลายู
ไม่
สามารถเชื่
อมโยงการย้
ายถิ่
นระหว่
างประเทศไทยเข้
ากั
ประเทศมาเลเซี
ยไว้
ด้
วยกั
นได้
แต่
อย่
างไรก็
ตามนั
กวิ
ชาการควรตระหนั
กถึ
งบทบาทเชิ
งลบที่
มี
ต่
อการใช้
เครื
อข่
ายเช่
นกั
เพราะบทบาทการใช้
เครื
อข่
ายไม่
ได้
จากั
ดเฉพาะบทบาทเชิ
งบวกเท่
านั
น การใช้
เครื
อข่
ายยั
งมี
บทบาทเชิ
งลบต่
อสมาชิ
เครื
อข่
ายเช่
นกั
น คุ
ณค่
าของเครื
อข่
ายการย้
ายถิ่
นนี
ทาให้
รั
ฐบาลไทยและมาเลเซี
ยไม่
สามารถควบคุ
มการย้
ายถิ่
นเข้
าไป
ทางานอย่
างผิ
ดกฎหมายของแรงงานคนไทยเชื
อสายมลายู
จากจั
งหวั
ดชายแดนภาคใต้
ในประเทศมาเลเซี
ย ทั
งนี
การย้
ายถิ่
ของคนไทยเชื
อสายมลายู
ที่
เข้
าไปทางานในประเทศมาเลเซี
ยควรอาศั
ยเครื
อข่
ายความสั
มพั
นธ์
แบบแน่
นแฟ้
น (strong ties)
ที่
เป็
นสมาชิ
กในครอบครั
วให้
ความช่
วยเหลื
อในการย้
ายถิ่
นข้
ามพรมแดน เนื่
องจากมี
ความปลอดภั
ย และความน่
าเชื่
อถื
มากกว่
าความสั
มพั
นธ์
แบบผิ
วเผิ
น (weak ties) ที่
อาจมี
โอกาสเกิ
ดผลกระทบเชิ
งลบที่
มี
ต่
อการใช้
เครื
อข่
าย
เอกสารอ้
างอิ
ชิ
ดชนก ราฮิ
มมู
ลา. (2551).
แนวทางการจั
ดสวั
สดิ
การการกาหนดค่
าธรรมเนี
ยมที่
มี
ผลต่
อการสร้
างแรงจู
งใจให้
แรงงาน
ร้
านอาหารไทยผั
นเข้
าสู
ระบบการจ้
างแรงงานต่
างด้
าวของมาเลเซี
ยอย่
างถู
กกฎหมาย
, ใน
รายงานการประชุ
วิ
ชาการเพื่
อนาเสนอผลงานวิ
จั
ยมหาวิ
ทยาลั
ยสงขลานคริ
นทร์
วิ
ทยาเขตปั
ตตานี
,
วั
นที่
5 กรกฎาคม 2551.
มหาวิ
ทยาลั
ยสงขลานคริ
นทร์
วิ
ทยาเขตปั
ตตานี
ปั
ตตานี
Berg, B. L. (2004).
Qualitative research methods for the Social Sciences.
Boston : Allyn and Bacon.
Fetterman, D. M. (1998).
Ethnography: Step by Step.
Thousand Oaks California, Sage Publications.
Gurak, D.T. and Caces, F (1992). ‘Migration Networks and the Shaping of Migration Systems’, in M. Kritz, L.L. Lim
and H. Zlotnik (ed.),
International Migration Systems A Global Approach
. Oxford: Clarendon Press.
Klanarong, N (2003).
Female International Labour Migration from Sothern Thailand
. PhD. Thesis, Department
of Geographical and Environmental Studie
s
. Adelaide: University of Adelaide.
Liow, J.C. (2009).
Islam, Education, and Reform in Southern Thailand: Tradition and Transformation
.
Singapore: Institute of Southeast Asian Studies.
Massey, D, Alarco’n, R, Durand, J & Gonza’lez, H (1987).
Return to Azlan: The Social Process of International
Migration from Western Mexico.
Berkeley: University of California Press.
Massey, D., J. Arango, et al. (1998).
Worlds in Motion: Understanding International Migration at the End of the
Millennium.
New York: Oxford University Press.
Muhamed, K and Chantavanich, S (2001). ‘Thai Migrant Workers in Malaysia’, in S. Chantavanich, A.
Germershausen, S. Laodumrongchai, J. Chotipanich and S. Prachason (ed),
Thai Migrant Workers in East
and Sotheast Asia: the Prospects of Thailand’s Migration Policy in the Light of the Regional
1...,65,66,67,68,69,70,71,72,73,74 76,77,78,79,80,81,82-83,84,85,86,...1102
Powered by FlippingBook