การประชุมวิชาการและผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 17 2550 - page 202

8
approach) คื
อพั
ฒนาทั้
งเด็
กและผู
ปกครองของเด็
ก โดยในช
วงนี้
เน
นการพั
ฒนาผู
ปกครองเด็
กให
มี
คุ
ณภาพชี
วิ
ตที่
ดี
ขึ้
น เพราะพ
อแม
เหล
านี้
เรี
ยนหนั
งสื
อน
อย หรื
อตกซ้ํ
าชั้
น โครงการ Head Start จึ
งมี
การ
ส
งเสริ
มให
พ
อแม
เรี
ยนหนั
งสื
อเพิ่
มเติ
ม พร
อมกั
บหางานให
ทํ
า ซึ่
งอาจเป
นงานในโครงการ Head Start
เองที่
นั
บวั
นจะขยายตั
วมากขึ้
น (เช
น จ
างทํ
าอาหาร 3 มื้
อแก
เด็
กและครอบครั
ว จ
างไปส
งอาหารตามบ
าน
ที่
เข
าโครงการ หรื
อจ
างทํ
าอุ
ปกรณ
การเรี
ยนการสอน) และยั
งมี
การสอนการใช
คอมพิ
วเตอร
แก
ผู
ปกครองเหล
านี้
ด
วย นอกจากนี้
ยั
งมี
การสอนทั
กษะที่
สํ
าคั
ญแก
ผู
ปกครองในการอบรมเลี้
ยงดู
เด็
ก เช
สอนวิ
ธี
การอบรมเลี้
ยงดู
เด็
กอย
างถู
กวิ
ธี
ให
มารั
บบริ
การอาหารกลางวั
นที่
มี
คุ
ณค
าทางโภชนาการ และ
ประกอบขึ้
นเป
นอาหารจานร
อน ตลอดจนให
คํ
าปรึ
กษาทั้
งทางโภชนาการและทางสุ
ขภาพจิ
ตแก
ผู
ปกครอง มี
บริ
การตรวจสุ
ขภาพกาย และให
บริ
การประกั
นสุ
ขภาพที่
ราคาย
อมเยาแก
ครอบครั
วด
วย
งานในส
วนนี้
จึ
งทํ
าให
โครงการ Head Start ขยายขอบเขตกว
างขึ้
นมาก และมี
การสร
างเครื
อข
ายความ
ช
วยเหลื
อกั
บองค
กรต
างๆ ซึ่
งเป
นการพั
ฒนาพ
อแม
เด็
กอย
างค
อนข
างครบวงจร โดยคาดว
าการพั
ฒนาพ
แม
เด็
ก จะเป
นการพั
ฒนาเด็
กไปในตั
วด
วย นอกจากนี้
ผลการสํ
ารวจยั
งพบอี
กว
า พ
อแม
ที่
ได
รั
บการ
ช
วยเหลื
อจากโครงการ มี
ความพอใจในชี
วิ
ตมากขึ้
น ลดความรู
สึ
กวิ
ตกกั
งวล และความซึ
มเศร
า ตลอดจน
ความเจ็
บป
วย จนมี
สุ
ขภาพกายและสุ
ขภาพจิ
ตที่
ดี
ขึ้
นกว
าแต
ก
อนมาก (Hale, Seitz, & Zigler, 1990;
Parker, Piotrkowski, & Peay, 1987; Singh, 2003)
นอกจากนี้
ในป
ค.ศ. 1975 Edward Zigler ได
เสนอแนะให
มี
การควบคุ
มคุ
ณภาพโครงการด
วย
การจั
ดตั้
งมาตรฐานที่
เรี
ยกว
า Program Performance Standards เพื่
อเป
นแนวทางในการประเมิ
นโครงการ
อย
างมี
มาตรฐานตรงกั
นทั่
วประเทศ โดยแต
ละศู
นย
ของโครงการจะต
องเขี
ยนเค
าโครงแผนงานและ
งบประมาณทุ
กๆ 3 ป
เพื่
อของบประมาณจากรั
ฐบาลกลาง
ช
วงป
ค.ศ. 1990 ถึ
ง ค.ศ. 2000
ในช
วงนี้
นั
กวิ
ชาการยั
งเพิ่
มความสนใจเกี่
ยวกั
บการทํ
าวิ
จั
ยที่
ศึ
กษาครู
ผู
ดู
แลเด็
กในโครงการ
Head Start อี
กด
วย เนื่
องจากในช
วงแรกๆ ของการดํ
าเนิ
นโครงการนั้
น นั
กวิ
จั
ยพบผลดี
ของโครงการที่
เกิ
ดขึ้
นกั
บเด็
ก จึ
งทํ
าให
พ
อแม
เด็
กนิ
ยมนํ
าลู
กของตนมาเข
าโครงการ ฯ มากขึ้
นเรื่
อยๆ ซึ่
งผลการวิ
จั
ยใน
ระยะหลั
งจากนี้
กลั
บพบผลดี
ที่
น
อยกว
าช
วงต
นของโครงการ การที่
ผลดี
ที่
เกิ
ดกั
บเด็
กลดลงนั้
นั
กวิ
ชาการได
ตั้
งข
อสั
งเกตว
า อาจเป
นเพราะคุ
ณภาพของครู
ผู
ดู
แลเด็
ก โดยในช
วงแรกของโครงการ มี
ครู
1 คน และผู
ช
วย 2 คน ทํ
าหน
าที่
ดู
แลเด็
กกลุ
มละ 15-25 คน (Ripple, Gilliam, Chanana, & Zigler,
1999) หรื
ออั
ตราส
วน ครู
:เด็
ก คื
อ 1: 15 แต
เมื่
อโครงการได
รั
บความนิ
ยมทํ
าให
ครู
ต
องรั
บผิ
ดชอบเด็
กใน
จํ
านวนที่
มากขึ้
น ซึ่
งอาจทํ
าให
ดู
แลเด็
กได
ไม
ทั่
วถึ
ง และต
องรั
บครู
เพิ่
มขึ้
นเป
นจํ
านวนมากที่
ด
อยคุ
ณภาพ
ด
วย (Tarullo, Ziill, Hubble-McKey, Resnick, et al., 2002)
นอกจากนี้
ยั
งได
มี
การสํ
ารวจคุ
ณภาพชี
วิ
ตของครู
และพบว
า ครู
ในโครงการ Head Start มี
รายได
เฉลี่
ยน
อยกว
า ครู
ในโรงเรี
ยนปกติ
ดั
งนั้
นจึ
งไม
มี
ครู
ที่
มี
ความรู
ความสามารถสู
งอยากเข
ามาเป
นครู
ใน
1...,192,193,194,195,196,197,198,199,200,201 203,204,205,206,207,208,209,210,211,212,...702
Powered by FlippingBook