การประชุมวิชาการและผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 17 2550 - page 553

บทบาทของการศึ
กษาในการสร
างเสริ
มความอยู
ดี
มี
สุ
ในภาวะการเปลี่
ยนแปลงอย
างรวดเร็
ว : กรณี
ศึ
กษาใน 2 ชุ
มชนในจั
งหวั
ดสงขลา
The Role of Education in the Construction of Wellbeing under Conditions of
Rapid Change : A Case Study in Two Communities in Songkhla Province
อาแว มะแส
1
บทคั
ดย
แนวคิ
ดเรื่
องความอยู
ดี
มี
สุ
ข (wellbeing) เป
นแนวคิ
ดที่
กํ
าลั
งได
รั
บความสนใจในการศึ
กษาเกี่
ยวกั
บการ
พั
ฒนา แต
ยั
งเป
นที่
ถกเถี
ยงกั
นถึ
งนิ
ยาม การได
มา ป
จจั
ยที่
เกี่
ยวข
อง รวมทั้
งบทบาทของแต
ละป
จจั
ยในการ
เสริ
มสร
างความอยู
ดี
มี
สุ
ข ตามกรอบแนวคิ
ดเรื่
องสถานะทางทรั
พยากร (The Resource Profile Framework) การ
เข
าถึ
งทรั
พยากรประเภทต
างๆและความสามารถในการแปรเปลี่
ยน
(transformation)
ทรั
พยากรเหล
านั้
นให
ตอบสนองความต
องการและความปรารถนาของครั
วเรื
อนและสมาชิ
ก น
าจะมี
ส
วนอย
างสํ
าคั
ญในการเสริ
มสร
าง
ความอยู
ดี
มี
สุ
ขในระดั
บครั
วเรื
อนและป
จเจกในชนบท ทั้
งนี้
ทั้
งความต
องการ ความปรารถนา ตอดจนวิ
ถี
ในการ
เสริ
มสร
างความอยู
ดี
มี
สุ
ขมี
ความเป
นพลวั
ตที่
ปรั
บตั
วตามกระบวนการพั
ฒนาไปสู
ความทั
นสมั
ย (modernisation)
ในบริ
บทของสั
งคมที่
อยู
ในภาวะของการเปลี่
ยนแปลงอย
างรวดเร็
ว (rapid change) อย
างเช
นสั
งคมไทย การพั
ฒนา
ทรั
พยากรมนุ
ษย
ด
วยการให
ได
รั
บการศึ
กษาในระดั
บที่
เหมาะสมต
อการปรั
บตั
วในวิ
ถี
การดํ
ารงชี
(livelihood
strategies) ให
สอดคล
องกั
บยุ
คสมั
ยดู
เหมื
อนจะมี
บทบาทที่
สํ
าคั
ญอย
างมาก
บทความนี้
มุ
งนํ
าเสนอผลการวิ
เคราะห
เชิ
งคุ
ณภาพเกี่
ยวกั
บบทบาทของการศึ
กษาในการเสริ
มสร
างความ
อยู
ดี
มี
สุ
ขในระดั
บครั
วเรื
อน โดยอาศั
ยข
อมู
ลภาคสนามที่
รวบรวมมาจากการวิ
จั
ยใน 2 ชุ
มชนชนบทในจั
งหวั
สงขลา ซึ่
งตั้
งอยู
ห
างจากตั
วนครหาดใหญ
เป
นระยะทางต
างกั
น โดยพบว
าการได
รั
บการศึ
กษาของสมาชิ
กครั
วเรื
อน
มี
ความแตกต
างครั
วเรื
อนระหว
างรุ
นที่
แบ
งตามช
วงอายุ
ในทั้
งสองชุ
มชน
ในป
จจุ
บั
นครั
วเรื
อนส
วนใหญ
ให
ความสํ
าคั
ญกั
บการศึ
กษาของบุ
ตรหลานเป
นอย
างมาก ซึ่
งต
างจากในอดี
ตช
วงที่
รุ
นพ
อแม
ยั
งอยู
ในวั
ยเรี
ยน โดย
คาดหวั
งว
าการศึ
กษาที่
ดี
จะช
วยเสริ
มสร
างความอยู
ดี
มี
สุ
ขทั้
งในแง
ภาวะวิ
สั
ย (objective wellbeing) และ อั
ตตวิ
สั
(subjective wellbeing) ความปรารถนาที่
จะให
บุ
ตรหลานได
รั
บการศึ
กษาในระดั
บสู
งจนขั้
นปริ
ญญาพบได
ทั่
วไป
และมี
ความพยายามอย
างมากในการแปรเปลี่
ยนทรั
พยากรด
านต
างๆ ที่
ครั
วเรื
อนสามารถเข
าถึ
งมาใช
เพื่
อสนั
บสนุ
การศึ
กษา แม
ว
ามี
เพี
ยงส
วนน
อยที่
สามารถบรรลุ
ถึ
งความปรารถนานี้
ก็
ตาม ความปรารถนานี้
มี
ความเชื่
อมโยงกั
ภาวะของเปลี่
ยนแปลงอย
างรวดเร็
วในสั
งคมไทยที่
มากระทบวิ
ถี
การดํ
ารงชี
พที่
ต
องสั
มพั
นธ
กั
บภายนอกชุ
มชนและ
พึ่
งพารายได
นอกภาคการเกษตรมากขึ้
น นอกจากนี้
การมี
การศึ
กษาที่
ดี
ยั
งเป
นค
านิ
ยมที่
บ
งบอกสถานะที่
ดี
ในทาง
สั
งคมอั
นเป
นองค
ประกอบที่
สํ
าคั
ญของความอยู
ดี
มี
สุ
ขด
านอั
ตตวิ
สั
1
Ph.D. (Development Studies)
ผู
ช
วยศาสตราจารย
ภาควิ
ชาพั
ฒนาการเกษตร คณะทรั
พยากรธรรมชาติ
มหาวิ
ทยาลั
ยสงขลานคริ
นคร
วิ
ทยาเขตหาดใหญ
จ. สงขลา
90112
1...,543,544,545,546,547,548,549,550,551,552 554,555,556,557,558,559,560,561,562,563,...702
Powered by FlippingBook