เอกสารการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ครั้งที่ 21 / 2554 (Oral) - page 950

การจั
ดการความรู
จากห
องเรี
ยนสู
ชุ
มชน : การบู
รณาการปรั
ชญาเศรษฐกิ
จพอเพี
ยงและภู
มิ
ป
ญญาท
องถิ่
เพื่
อพั
ฒนาความสามารถในการคิ
ดของเยาวชน
Knowledge Management from Classrooms to Communities: The Integration of Sufficiency
Economy in to Local Wisdom in Order to Develop Youth’s Thinking Ability
พรพั
นธุ
เขมคุ
ณาศั
1
Pornpan Khemakhunasai
1
บทคั
ดย
การพั
ฒนาความสามารถในการคิ
ดวิ
เคราะห
คิ
ดสั
งเคราะห
คิ
ดบู
รณาการ คิ
ดอย
างมี
วิ
จารณญาณ และคิ
สร
างสรรค
เป
นการออกแบบการเรี
ยนรู
ให
ผู
เรี
ยนได
รั
บประสบการณ
ตรงและลงมื
อทํ
าจริ
งจากชุ
มชนที่
มี
มิ
ติ
การพึ่
งตนเอง
ตามหลั
กปรั
ชญาเศรษฐกิ
จพอเพี
ยงและภู
มิ
ป
ญญาท
องถิ่
น โดยผู
เรี
ยนเก็
บรวบรวมความรู
และนํ
ามาบู
รณาการเข
ากั
กิ
จกรรมซึ่
งประกอบด
วยการพั
ฒนาแรงจู
งใจใฝ
สั
มฤทธิ์
กระบวนการเรี
ยนรู
ร
วมกั
น การจั
ดการความรู
ในชุ
มชน การถอด
ความรู
และประสบการณ
จากชุ
มชน กระบวนการเรี
ยนรู
“การคิ
ดอย
างเป
นระบบ” และสุ
นทรี
ยสนทนา แต
ละกิ
จกรรมมี
โจทย
คํ
าถามแบบอั
ตนั
ยให
ผู
เรี
ยนค
นหาคํ
าตอบด
วยวิ
ธี
การคิ
ดแบบต
าง ๆ การพั
ฒนาโจทย
คํ
าถามเริ่
มด
วยการฝ
กการคิ
ที
ละแบบ จากนั้
นคิ
ดแบบผสมผสาน คิ
ดเป
นวงจร และคิ
ดอย
างเป
นระบบ โจทย
คํ
าถามมี
ลั
กษณะที่
เชื่
อมต
อกั
นเป
Jigsaw มี
การบู
รณาการ และเพิ่
มความสลั
บซั
บซ
อนมากขึ้
นตามลํ
าดั
บของกิ
จกรรม วิ
ธี
การดั
งกล
าวนอกจากนํ
าผู
เรี
ยนให
คิ
ดอย
างเป
นระบบได
แล
ว ยั
งส
งเสริ
มกระบวนการเรี
ยนรู
ร
วมกั
นระหว
างผู
เรี
ยนกั
บผู
เรี
ยน ผู
เรี
ยนกั
บชุ
มชนและภาคี
ที่
เกี่
ยวข
อง ซึ่
งไม
เพี
ยงได
เรี
ยนรู
ชุ
มชนและคนอื่
น หากแต
ผู
เรี
ยนยั
งได
เรี
ยนรู
ตนเองจากการมี
ปฏิ
สั
มพั
นธ
กั
บคนอื่
นอี
กด
วย
คํ
าสํ
าคั
ญ :
การจั
ดการความรู
การบู
รณาการ ปรั
ชญาเศรษฐกิ
จพอเพี
ยง ภู
มิ
ป
ญญาท
องถิ่
น ความสามารถในการคิ
Abstract
The development of analytical thinking ability, synthesis thinking, integrative thinking, critical
thinking and creative thinking of youth was designed to help learners get direct experience and had to do real practice
in the community that lived under sufficiency economy philosophy and its local wisdom. The learners collected these
knowledge and integrated them into the activities consisting of the development of achievement motivation,
collaborative learning, knowledge management in community, knowledge and experience extraction from the
community, learning process “systematic thinking” and dialogue. Each activity had subjective test for learners to
practice each type of thinking ability as mentioned above. The development of tests started with practicing each type
of thinking ability, the mix of all types of thinking ability and systematic thinking ability. The questions were linked to
each other as jigsaw as they were integrative and thequestions would be more complex in each activity. Apart from
helping learners to develop systematic thinking, this method also enhanced learning process among learners
themselves, the community and related organizations. Learners could learn not only from the community and others
but also they could understand themselves through interacting with others.
Keyword:
Knowledge management, integration, sufficiency economy philosophy, local wisdom and thinking ability
1
ผศ.ดร. สาขาวิ
ชาภาษาไทย คณะมนุ
ษยศาสตร
และสั
งคมศาสตร
มหาวิ
ทยาลั
ยทั
กษิ
ณ สงขลา 90000
Corresponding author: e-mail:
Tel. 089-8706212
1...,940,941,942,943,944,945,946,947,948,949 951,952,953,954,955,956,957,958,959,960,...1102
Powered by FlippingBook